Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 กระบวนการบริหารและวิวัฒนาการทฤษฎีทางการบริหาร (ต่อ1) - Coggle…
บทที่ 2 กระบวนการบริหารและวิวัฒนาการทฤษฎีทางการบริหาร (ต่อ1)
ยุคทฤษฎีเชิงพฤติกรรม (Behavioral Organizational Theory)
แนวความคิดในยุคของทฤษฎีสมัยเดิมหรือยุคคลาสสิก แบ่งได้เป็น 4 แนวความคิดหลัก คือ
นักพฤติกรรมระยะเริ่มแรก
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
ความเคลื่อนไหวเชิงมนุษย์สัมพันธ์
กลุ่มทฤษฎีหลักพฤติกรรมศาสตร์
นักทฤษฎีระยะเริ่มแรก
Hugo Munsterberg
เป็นผู้ริเริ่มวิธีการเกี่ยวกับจิตวิทยาอุตสาหกรรม ที่ศึกษาวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลเพื่อนำมาปรับปรุงให้ได้ผลผลิตมากที่สุด
หลักการบริหารจัดการของ Hugo
สรรหาบุคลากรที่มีคุณภาพด้านจิตใจและคุณสมบัติเหมาะสมที่สุด
ส่งเสริมสภาวะทางจิตวิทยาของคนในโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อจูงใจ
อิทธิพลต่อคนงานเพื่อให้เกิดผลดีที่สุดคือ ค่านิยม ระหว่างผู้บริหารและประชาชน
2 Mary Parker Follett
การจัดการ เป็นเทคนิคการทำงานให้สำเร็จ โดยอาศัยผู้อื่น
เน้นเรื่องการประสานงาน
การจัดการหรือบริหารงาน จำเป็นต้องมีการประสานงาน 4 ชนิด
ติดต่อโดยตรงกับตัวบุคคลที่รับผิดชอบงานนั้น
ในระยะเริ่มแรกหรือในขั้นวางแผนกิจกรรมต่างๆ
เป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
กระทำเป็นการต่อเนื่อง
วัตถุประสงค์ด้านการประสานงานเพื่อความเข้าใจซึ่งกันและกัน
กระตุ้นศักยภาพของแต่ละบุคคลบนพื้นฐานของความเป็นจริงและสถานการณ์
พิจารณาแนวคิดของแต่ละคนและพยายามคำความเข้าใจมากขึ้น
ผสมผสานแนวคิดต่างๆดังกล่าวเข้าด้วยกันและนำมาใช้เป็นจุดหมายร่วมกัน
ข้อดี
เกิดแรงจูงใจ, ความคิดสร้างสรรค์, แลกเปลี่ยนความรู้ ความเห็น, ปรับปรุงและพัฒนา, เกิดแนวทางแก้ไขปัญหาต่างๆ
ข้อเสีย
ขาดการประสานงานความไม่สงบสุข, ก้าวร้าว กดขี่, นำไปสู่ความยุ่่งเหยิง,ไม่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
Elton Mayo
บิดาแห่งการจัดการแบบมนุษยสัมพันธ์
ให้ความสำคัญกับความสัมพันธ์ระหว่างคนงานด้วยกันเอง การติดต่าอย่างเปิดกว้าง ผู้ใต้บังคับบัญชาเข้าร่วมตัดสินใจอย่างเป็นปปนะชาธิปไตย
แนวคิด
ปทัสถานสังคม (ข้อตกลงเบื้องต้นในการทำงาน)
กลุ่มพฤติกรรมของกลุ่มมีอิทธิพลจูงใจ
การให้รางวัลหรือการลงโทษ
การควบคุมบังคับบัญชา
การบริหารแบบประชาธิปไตย
ผลการศึกษาที่ Hawthome
ปัจจัยด้านปทัสถานทางสังคม เป็นตัวกำหนดปริมาณผลผลิตไม่ใช่ปัจจัยด้านกายภาพ
ความคิดที่ว่าคนเห็นแก่ตัว ต้องการเงินมากๆ เป็นการมองแคบๆ
พฤติกรรมของคนงานถูกกำหนดโดยความสัมพันธ์ภายในกลุ่ม
ความเคลื่อนไหวเชิงมนุษย์สัมพันธ์
ทฤษฎีการจัดการเน้นมนุษย์สัมพันธ์ของมาสโลว์
Maslow มองว่ามนุษย์มีศักยภาพพอที่จะชี้นำตัวเอง เปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์ แสวงหาความต้องการที่จะเข้าใจตนเอง ยอมรับส่วนดี ด้อย ของตัวเอง
Maslow Hierarchy of needs Theory แบ่งลำดับความต้องการของมนุษย์ไว้ดังนี้
ขั้นที่ 1 ความต้องการด้านร่างกาย
ขั้นที่ 2 ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย
ขั้นที่ 3 ความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ
ขั้นที่ 4 ความต้องการได้รับยกย่องนับถือ
ขั้นที่ 5 ความต้องการความสำเร็จในชีวิต
กลุ่มทฤษฎีหลักพฤติกรรมศาสตร์
1 ทฤษฎีเกี่ยวกับแต่ละบุคคลกับองค์กร
ทฤษฎี X และ ทฤษฎี Y ของดักลาส แมคเกรเกอร์
ทฤษฎี X
คือ คนประเภทเกียจคร้าน ใช้มาตรการบังคับ มีระเบียบกฏเกณฑ์คอยกำกับ ควบคุมการทำงาน และมีการลงโทษเป็นหลัก
ทฤษฎี Y
คือ คนประเภทขยัน ควรกำหนดหน้าที่ที่เมหาะสม ท้าทายความสามารถ สร้างแรงจูงใจและเปิดโอการให้มีส่วนร่วมในการบริหารงาน
ข้อมูลสมมติฐานเกี่ยวกับคน
ทฤษฎี X
เกียจคร้าน, พยายามหลีกเลี่ยงไม่ทำงาน, บิดพลิ้วเมื่อมีโอกาส
ใช้วิธีควบคุมใกล้ชิด,คอยจับผิด,ไม่ให้เสรีภาพและโอกาส
ทฤษฎี Y
รักงาน, พยายามเรียนรู้และปรับปรุงงาน,ใฝ่หาความรับผิดชอบ
ให้เสรีภาพ,ให้โอกาสทดลองริเริ่มและทำงานด้วยตนเอง,ควบคุมห่างๆ โดยกว้างๆ
2 ทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
ทฤษฎีภาวะผู้นำแบบตาข่ายของเบลคและมูตัน
พฤติกรรมผู้นำ 2 มิติ
มิติที่ผู้นำมุ่งให้ความสนใจเกี่ยวกับการผลิต
มิติที่ผู้นำมุ่งให้ความสนใจต่อคนผลิตหรือต่อพฤติกรรมงาน
เดิมเรียกว่า ตาข่ายการบริหาร/ตาข่ายการจัดการ
พัฒนาจากแนวคิดการศึกษาของมหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตท นำพฤติกรรมของผู้นำทั้งสองด้านมาจัดตารางตาข่ายสองมิติ แต่ละด้านแบ่งเป็น 9 ระดับ เกิดเป็นตารางแทนพฤติกรรมผู้นำ 81 ช่อง พฤติกรรมสำคัญของผู้นำมี 5 แบบ
: