Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Carbohydrate Metabolism - Coggle Diagram
Carbohydrate Metabolism
2.การดูดซึมคาร์โบไฮเดรต
2 เเบบ
- การดูดซึมแบบต้องอาศัยพลังงานเป็นการดูดซึมน้ำตาลที่ต้อง อาศัยพลังงาน เกิดปฏิกิริยาฟอสฟอริเลชันของน้ำตาลภายในเซลล์เยื่อบุผนังลำไส้เล็ก การดูดซึมแบบนี้ ต้องอาศัยพลังงาน และยังต้องอาศัยโปรตีนตัวพา (specific transport protein) และโซเดียมไอออนด้วย การดูดซึมแบบนี้จะไม่ขึ้นอยู่กับ ความเข้มข้นของน้ำตาลในลำไส้เล็ก น้ำตาลกลูโคสและ กาแล็กโทสจะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด
- การดูดซึมแบบแพร่กระจายผ่านเซลล์เยื่อบุผนังลำไส้เล็ก เป็นการดูดซึมโดยอาศัยความเข้มข้นที่แตกต่างกันระหว่างน้ำตาลในลำไส้เล็กและน้ำตาลภายในเซลล์เยื่อบุผนังลำไส้เล็ก
น้ำตาลเกือบทุกชนิดสามารถถูกดูดซึมได้ด้วยวิธีนี้ ยกเว้นน้ำตาลกลูโคสและกาแล็กโทส
1.การย่อยคาร์โบไฮเดรต
การย่อยที่ปากเริ่มต้นจากการเคี้ยวอาหารโดยการทำงานร่วมกันของ ฟัน ลิ้น เเละเเก้ม ทำให้อาหารมีขนาดเล็กลงต่อมน้ำลายจะหลั่งน้ำลายอะไมเลสออกมาคลุกเคล้าให้อาหารสะดวกต่อการกลืน ในขณะอยู่ที่ปากให้กลายเป็นเดกซ์ตรินเเละมอลโทสที่สร้างจากตับอ่อนบริเวณลำไส้เล็ก ซึ่งเป็นคาร์โบไฮเดรตที่โมเลกุลเล็กกว่าเเป้ง จะถูกย่อยต่อไปจนเป็นน้ำตาลโมเลกุลคู่ มอลโทส ให้เป็นมอลเทสน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวจนได้ monosacharide คือ glucose fructose galactose ดูดซึมที่ ลำไส้เล็กส่วนกลางเเละออกจากผนังลำไส้ไปที่เส้นเลือดฝอยไหลเวียนไปตามเส้นเลือดใหญ่ไปย่อยที่ตับเเละลำเลียงไปเซลล์ต่างๆทั่วร่างกาย
3.Metabolism pathway
-
Gluconeogenesis
วิถีนี้สำคัญในการผลิตกลูโคสให้เนื้อเยื่อต่างๆ เป็นกระบวนการสร้างกลูโคสขึ้นมาใหม่ จาก เเลกเทต กลีเซอรอล เเละกรดอะมิโนบางชนิด Gluconeogenesis บริเวณตับเเละบริเวณกล้ามเนื้อ โดยมีเลือดเป็นตัวกลางในการสังเคราะห์ glucose,pyruvate,Lactate
เกิดขึ้นในภาวะที่ร่างกายต้องการกลูโคสจากคาร์โบไฮเดรตไม่เพียงพอเนื่องจาก สมอง ระบบประสาท ไต เเละเซลล์เม็ดเลือดเเดงต้องการกลูโคสเป็นเหล่งพลังงานสำคัญ สมองต้องการกลูโคสมากกว่า120กรัมต่อวัน
Gluconeogenesis เกิดมากที่ ตับ ไต ลำไส้เล็ก ร่างกายใช้กำจัดสารที่ได้จากเมเเทบอลิซึมของเนื้อเยื่อต่างๆออกจากเลือด
-
-
-
การสังเคราะห์กลูโคส
-
-
กระบวนการในการสังเคราะห์กลูโคสจากสารที่ไม่ใช่คาร์โบไฮเดรต เช่น กรดแลคติค กลีเซอรอล และกรดอะมิโนกลูโคจีนิก (glucogenic amino acid) โดยกระบวนการนี้จะเกิดขึ้นในช่วงที่มีการออกกำลังกายอย่างหนัก อดอาหาร และการรับประทานอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตน้อยเกินไป ซึ่งผลจากกระบวนการนี้ก่อให้เกิดของเสียในรูปของสารที่มีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ (Nitrogen waste) ที่สามารถูกเปลี่ยนให้เป็นยูเรียที่ตับและขับออกทางปัสสาวะได้ แต่หากว่าร่างกายมีปริมาณของของเสียดังกล่าวมากเกินไปก็อาจเป็นสาเหตุของอาการคลื่นไส้ ท้องเสีย ปวดศีรษะ เมื่อยล้า ความดันโลหิตต่ำ อัตราการเต้นของหัวใจลดลง ไตทำงานผิดปกติ
-
Glycogen Metabolism
การสังเคราะห์ไกลโคเจน :
ไกลโคเจนในตับ >>ปรับระดับกลูโคสในเลือดให้คงที่ เมื่อปริมาณน้ำตาลในเส้นเลือดลดลง หรือร่างกายขาดสารอาหาร ตับจะเปลี่ยนไกลโคเจนให้เป็นน้ำตาลกลูโคส
*ภาวะอดอาหาร (12-15ชั่วโมง )ระหว่างมื้อจะเกิด glycogenesis
-
-
-
-
-