Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Neonatal Jaundice - Coggle Diagram
Neonatal Jaundice
อาการ
พบได้ในเด็กที่มีการทำลายของเม็ดเลือดแดงอย่างมากมักเป็นอาการที่พบได้เฉพาะราย hydroph fetallis จาก Rh incompatibility หรือซิฟิลิสแต่กำเนิด
พบได้ใน hemolytic disease of the newborn หรือโรคติดเชื้อในครรภ์ เกิดขึ้นเนื่องจาก การสร้างเม็ดเลือดแดงมาก เพื่อชดเชยส่วนที่ถูกทำลาย ไปใน ABO incompatibility จะมีการแตกสลายของเม็ดเลือดแดงที่มักจะไม่รุนแรง ตับและม้ามจึงไม่ค่อยโต
มักเห็นที่บริเวณใบหน้าก่อน ถ้ากดลูบบริเวณดั้งจมูกจะเห็นได้ชัดยิ่งขึ้น อาการตัวเหลืองจะเห็นชัดมากขึ้นลามมาที่ลำตัวและแขนตามลำดับถ้าอาการเหลืองเห็นได้ที่ใบหน้าที่หน้าอกเหนือสะดือ ระดับบิลิรูบินสูงประมาณ 12 มก./ดล. หรือตํ่ากว่า ถ้ามือและเท้าเหลืองระดับบิลิรูบินมักจะสูงเกิน 15 มก./ดล.
-
- จุดเลือดตามตัวหรือมีรอยเลือดออกบนผิวหนัง
อาจพบเป็น petichii หรือ purpuric spoth ตามผิวหนัง พบในทารกที่มีการติดเชื้อในครรภ์ หรือมีผิวหนัง ชํ้า หรือมี cephalhematoma หรือ subgaleal hematoma ที่เกิดจากการคลอด
-
การวินิจฉัย
- การซักประวัติ เชน ประวัติการคลอด การแท้งบุตรบ่อย การติดเชื้อการใช้ยาหรือประวัติไข้ออกผื่นของ มารดาขณะตั้งครรภ ซึ่งจะสัมพันธกับ sepsis และ congenital infection โรคทางกรรมพันธุ (ความผิดปกติของ เซลลเม็ดเลือดแดงหรอเอนไซม์ หรือประวัติปริมาณน้ํานมของมารดาซึ่งจะสัมพันธกับ breast feeding jaundice ลูกคนกอนมีภาวะตัวเหลืองเปนๆ หายๆ และตองรักษาในโรงพยาบาลหลายครั้ง ประวัติดังกลาวสามารถใช้บอก เหตุของอาการตัวเหลืองได้
- การตรวจรางกาย โดยใช้นิ้วกดผิวหนังแล้วดูสีผิวบริเวณที่ถูกกดจะเห็นสีเหลืองชัดขึ้น ซึ่งมักพบภาวะ เหลืองเริ่มจากใบหน้า และเห็นได้ชัดขึ้นตามลําตัว แขน ขา และอาจเหลืองถึงมือและเทาหากมีระดับ bilirubin สูง ทารกที่มีจ้ําเลือดตามตัวหรือมีรอยเลือดออกบนผิวหนัง ตับ มามโต
- ผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ ทารกที่ตัวเหลืองอยางเห็นได้ชัด ควรได้รับการตรวจระดับ bilirubin ใน serum ซึ่งนิยมตรวจคา total bilirubin จากเลือดที่เจาะบริเวณสนเท้าของทารก ตรวจนับเม็ดเลือด และตรวจ ลักษณะรูปรางของเซลลเม็ดเลือดแดง ตรวจหมูเลือด ABO และ Rh ของทั้งมารดาและทารก เพื่อดูโอกาสการเกิด Rh incompatibility หรือ AO, BO incompatibility
การรักษา
- การรักษาโดยการเปลี่ยนถ่ายเลือด (Exchange Transfusion)
-
-
- การใช้ยาในการรักษา (pharmacological agents)
โดยยาที่ใช้ลดระดับของ bilirubin ที่ใช้ได้ดี คือยา Phenobarbital ช่วยเร่งให้ตับสร้างเอนไซม์ UDP-glucuronyl transferase และโปรตีน Y และ Z มากขึ้น ทําให้ bilirubin ถูกขับออกทางท่อน้ําดีมากขึ้น ใช้เวลา 4-5 วัน จึงเห็นผล ยา Tin-mesoporphrin ทําหนาที่ยับยั้งการ ทํางานของเอนไซม์ heme oxygenase ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ช่วยเปลี่ยน heme ให้เป็น bilirubin ใช้โดยฉีด 1 ครั้ง ภายใน 24 ชั่วโมง ในกรณี ABO incompatibility, G6PD ซึ่งจะใช้ในการป้องกันหรือรักษาในกรณีที่ทารกมีอาการ เหลืองไม่มาก
- การใช้แสงบําบัดหรือการส่องไฟ (phototherapy)
ช่วยลดระดับของซีรั่มบิลิรูบินชนิดที่ละลายในไขมันลงได้ โดยทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของโมเลกุลของบิลิรูบินชนิดไม่ละลายนํ้า ให้กลับกลายมาเป็นสารที่ละลายนํ้าได้
-
สาเหตุ
- มีการขับ bilirubin ไดนอย หรือไมได ซึ่งสามารถเกิดไดจากลําไสมีการเคลื่อนไหวนอย หรือทารกดูด นมนอย มีการอุดตันของลําไส ทอน้ําดีอุดตัน หรืออักเสบ ทําใหเกิดการดูดซึม bilirubin จากลําไสกลับเขาสูระบบ ไหลเวียนโลหิตมากกวาปกติ
- ตับมีความสามารถในการเปลี่ยน bilirubin เปนชนิด conjugated bilirubin ไดนอย ซึ่งอาจเกิดจาก ทารกคลอดกอนกําหนด ทําใหระดับเอนไซมที่ใชในการเปลี่ยน bilirubin ต่ํากวาปกติ ทารกขาดเอนไซม UDPglucuronyl transferase หรือที่เรียก Crigler Najjor syndrome ที่เปนโรคทางกรรมพันธุที่พบในทารกชาว อาหรับ หรืออาจเกิดจากไดรับยาบางชนิดที่ขัดขวางการเปลี่ยนรูปของ unconjugated bilirubin เชน ยา novobiocin สาร pregnanadial หรือ non-esterified fatty acid
- มีการสราง bilirubin มากกวาปกติจากภาวะตางๆ ที่มีการสลายตัวของเซลลเม็ดเลือดแดง เชน การที่ หมูเลือดของมารดาและทารกไมเขากัน (ABO incompatibility และ Rh incompatibility) เซลลเม็ดเลือดแดงมี รูปรางผิดปกติ ซึ่งภาวะทั้ง 2 ทําใหเซลลเม็ดเลือดแดงมีอายุสั้นกวาปกติ ภาวะเลือดขน มีภาวะเลือดออกใน รางกายทําใหมีการสลายตัวและมี bilirubin เขาสูกระแสเลือดมากกวาปกติ การที่มารดาไดรับยา oxytocin ที่ใช ในการเรงคลอด ซึ่งสามารถทําใหเซลลเม็ดเลือดแดงของทารกแตกไดงายขึ้นหรือมีการติดเชื้อในกระแสเลือด
-
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด (neonatal jaundice) เป็นภาวะที่พบได้บ่อย ภาวะตัวเหลืองหรือภาวะบิลิรูบินในเลือดสูง (hyperbilirubinemia) เป็นภาวะที่ผิวหนังและเนื้อเยื่ออื่นๆ ของทารก เหลืองมากขึ้นกว่าปกติ หากมีความเข้มข้นของบิลิรูบินในเลือดมากกว่า 5 มก./ดล. จะทำให้ทารกมีอาการตัวเหลืองเห็นได้ด้วยตาเปล่า