Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารจัดการดูแลผู้ป่วย - Coggle Diagram
การบริหารจัดการดูแลผู้ป่วย
การจัดระบบบริการ
Functional method
ความหมาย
เป็นการจัดบริการที่มอบหมายให้ปฏิบัติการพยาบาลดูแลผู้ป่วยตามกิจกรรมหรือหน้าที่ที่ให้บริการ โดยจัดแบ่กิจกรรมให้ตามความรู้ความสามารถของพยาบาล
ข้อดี
ประหยัดเวลาเครื่องมือ
พัฒนาทักษะการปฏิบัติงานได้ดีและเร็ว
ปลอดภัยในการปฏิบัติการพยาบาล
ไม่สับสนในการทำงาน
เหมาะกรณีมีคนน้อย
ลดค่าใช้จ่าย
ตรวจสอบประเมินง่าย
ให้การดูแลผู้ป่วยตามหน้าที่ตามเวลา
ข้อเสีย
มุ่งงานมากกว่าผู้ป่วย
ไม่สามารถทราบความต้องการที่แท้จริงของผู้ป่วย
ผู้ป่วยไม่รู้ว่า RN คนไหนเป็นเจ้าของไข้
ไม่เหมาะในการดูแลที่ใช้เวลานาน ๆ / ไม่ต่อเนื่อง / ขาดองค์รวม
ไม่มีเป้าหมายไม่มีแผนการพยาบาลเกิดปัญหาแล้วจึงตามแก้ไข
Team method
ข้อดี
ยึดงานและผู้ป่วยเป็นหลัก
เกิดทักษะการทำงานเป็นทีมพึ่งพาช่วยเหลือกันและกัน
เสริมสร้างความรู้สึกการเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม (สามัคคี)
ประหยัดค่าใช้จ่าย
หัวหน้าทีมกำกับให้ทีมพยาบาลดูแลผู้ป่วยตามหน้าที่ตามเวลา
ผู้ป่วยได้รับดูแลต่อเนื่อง
ความหมาย
เป็นการจัดกลุ่มบุคคลที่รับผิดชอบทำการพยาบาลต่างระดับความรู้มาปฏิบัติงานร่วมกัน ซึ่งมีการวางแผนการพยาบาลและประเมินผลการพยาบาลร่วมกันโดยมีพยาบาลวิชาชีพเป็นหัวหน้าทีม
ข้อเสีย
ต้องใช้คนมาก (ทุกระดับ)
อาจไม่ได้ผลถ้าไม่แบ่งงานความรับผิดชอบให้หัวหน้าเวรหัวหน้าทีมอย่างจริงจัง
ไม่มีเวลาวางแผน / สื่อสาร
มีเป้าหมายแผนการพยาบาลเฉพาะแต่ละเวรไม่ต่อเนื่องตั้งแต่แรกรับ-จำหน่าย
มุ่งแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าขาดการป้องกัน
อาจต้องใช้ Functional ร่วมด้วย
Holistic patient care
ความหมาย
เป็นการดูแลผู้รับบริการหรือผู้ป่วยโดยมองให้ครบทุกด้าน ไม่แยกส่วน โดยคำนึงถึงองค์ประกอบทั้ง 4 ได้แก่ ร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ไม่ได้พิจารณาเฉพาะโรคที่เป็นหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
หลักการ
ประกอบด้วย 8 หลักการ
สร้างสัมพันธภาพเชิงบำบัดกับผู้รับบริการ
การให้ข้อมูลและความรู้แก่ผู้รับบริการ
ผู้รับบริการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ
สนับสนุนกระบวนการฟื้นหายของผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการอย่างเอื้ออาทร
สร้างสภาพแวดล้อมต่อการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างพยาบาลกับผู้รับบริการ
การส่งเสริมและสนับสนุนการใช้วิธีพื้นบ้านที่เป็นประโยชน์ในการส่งเสริมสุขภาพ
ตระหนักถึงความเป็นองค์รวมของบุคคล
การเสริมสร้างพลังอำนาจให้ผู้รับบริการและครอบครัว
Case method
ความหมาย
เป็นการจัดบริการที่มอบหมายผู้ป่วยให้แก่พยาบาลทำการดูแลเป็นรายๆ โดยที่พยาบาลผู้รับผิดชอบดูแลผู้ป่วยรายนั้นให้การดูแลทุกอย่างครบถ้วนภายในรอบเวรนั้น ได้รับมอบหมายให้ดูแลผู้ป่วยที่มีความซับซ้อนตามสมรรถนะของพยาบาล
ข้อดี
สามารถศึกษาความต้องการปัญหาผู้ป่วยได้ดี / องค์รวม
ผู้ป่วยพึงพอใจสูง
พยาบาลรับผิดชอบดูแลผู้ป่วยทั้งหมด
เน้นผู้ป่วยเป็นหลัก
ให้การดูแลผู้ป่วยแต่ละรายแบบเบ็ดเสร็จ
ข้อเสีย
ทักษะบางอย่างอาจไม่เหมาะสม (ยากง่าย)
ไม่เหมาะสำหรับพยาบาลจบใหม่และด้อยประสบการณ์
ไม่เหมาะกับหอผู้ป่วยที่มีการรับใหม่-จำหน่ายมาก ๆ ในแต่ละเวร
ใช้พยาบาลมากรายจ่ายสูงเครื่องมือเครื่องใช้มากหากทำให้ได้ดี
แผนการพยาบาลเฉพาะแต่ละเวรการดูแลอาจไม่ต่อเนื่องตั้งแต่แรกรับ-จำหน่าย
Mix method
ความหมาย
เป็นการทำงานแบบผสมผสาน โดยมีการมอบหมายงานตั้งแต่ 2 รูปแบบขึ้นไป
ข้อดี
การดูแลผู้ป่วยมีความครอบคลุม
ข้อเสีย
อาจแก้ปัญหาการพยาบาลไม่เพียงพอได้
ตำแหน่งงานในหอผู้ป่วย
Incharge
บทบาทหน้าที่
2.มอบหมายงานให้ทีมการพยาบาลล่วงหน้า 1วัน ก่อนขึ้นฝึกปฏิบัติงาน
3.เขียนแผนการปฏิบัติในบทบาทหัวหน้าเวรส่งอาจารย์พี่เลี้ยง
1.ศึกษาผู้ป่วยทุกรายชื่อที่อยู่ในความรับผิดชอบ
4.ตรวจสภาพแวดล้อม ความเรียบร้อยของสถานที่ อุปกรณ์ต่างๆและบุคลากรที่ปฏิบัติงานเวร
5.ร่วมรับเวรกับทุกทีม และบันทึกข้อมูลในสมุดรับ-ส่งเวรประจำวัน
Leader
บทบาทหน้าที่
4.ปฎิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย
5.ปรึกษาและร่วมแก้ไขปัญหาทางการพยาบาลกับหัวหน้าเวร
3.ประสานงานและรายงานการทำงานกับหัวหน้าเวร
6.ดูแลเครื่องมือและจัดเก็บการบำรุงรักษา
2.ปฎิบัติตามแผนการพยาบาลที่วางไว้
7.บันทึกและรายงานการปฎิบัติการพยาบาล
1.ร่วมประชุมปรึกษาทางการพยาบาลผู้ป่วยในทีม
Head ward
บทบาทหน้าที่
3.ผู้เชื่อมโยงนโยบายจากองค์กรพยาบาลสู่การปฏิบัติในหอผู้ป่วย
4.เป็นผู้นำในการปฎิบัติการพยาบาล ให้คำปรึกษาแนะนำ และวินิจฉัยสั่งการ ในกรณีผู้ปฏิบัติไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้
2.ตรวจสอบ ควบคุมการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ทุกระดับให้ปฏิบัติงานตามบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ
5.กำหนดแนวทางการพัฒนา และฟื้นฟูความรู้บุคลากรทางการพยาบาลทุกระดับ
1.รับผิดชอบบริหารการพยาบาลในระดับหน่วยงาน
Member
บทบาทหน้าที่
3.การสนับสนุนการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วย
4.การสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้ป่วย
2.ให้การพยาบาลเฉพาะโรคได้ทุกระดับปัญหา และทุกระดับความรุนแรงของโรค
5.วางแผนและดำเนินการส่งเสริมสุขภาพ
1.ประเมินปัญหาและความต้องการของผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
6.สังเกต บันทึก สรุป รายงานการเปลี่ยนแปลง
หลักในการจัดแบ่งบทบาทหน้าที่พยาบาล
การกําาหนดบทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพ ใช้แนวคิดหลักการที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของพยาบาลวิชาชีพ
มาตรฐานกําาหนดตําาแหน่งพยาบาลวิชาชีพของสําานักงาน ก.พ.
โครงสร้างหน่วยงานในราชการบริหารส่วนภูมิภาค สังกัดสําานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
รูปแบบการปฏิบัติงานในหอผู้ป่วย
การจัดคนเข้าทำงาน
ลักษณะของผู้รับบริการและปริมาณของผู้รับบริการ
ความต้องการของผู้รับบริการ
จำนวนของผู้รับบริการรายใหม่
ระยะเวลาของผู้รับบริการที่นอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาล
อาการและความยุ่งยาก ความชับซ้อนของผู้รับบริการ
นโยบายการบริหารงานบุคลากร
ระดับการศึกษาของพยาบาล
การขาดงานของพยาบาล
ความพร้อมในเรื่องอุปกรณ์และเครื่องใช้
ลักษณะการแบ่งงานในหอผู้ป่วย
การจัดการเวลาการปฏิบัติงานของพยาบาล
การจัดเวลาทำงานเป็นเวร (shift) โดยอาจจัดเวรละ 8 ชั่วโมง ต่อคนในระยะเวลา
1 วัน และจัดให้หยุดได้ 2 วัน ใน 7 วัน และเป็นที่ใช้กันอยู่แพร่หลายโรงพยาบาล
เวรเช้า ตั้งแต่ 7.00 - 15.00 น. หรือ 8.00 -16.00 น. หรือ 8.30 - 16.30 น.
เวรบ่าย ตั้งแต่ 15.00 - 23.00 น. หรือ 16.00 - 24.00 น. หรือ 16.30 - 0.30 น.
เวรดึก ตั้งแต่ 23.00 -7.00 น. หรือ 24.00 - 8.00 น. หรือ 0.30 - 8.30 น.
การจัดเวรละ 10 ชั่วโมง ในหนึ่งวัน สัปดาห์ละ 4 วัน
เวรเข้า 7.00 - 17.30 น.
เวรบ่าย 13.00 - 23.30 น
เวรดึก 21.00 - 7.30 น.
การมอบหมายงาน
การมอบหมายงานเฉพาะหน้าที่ (Functional Method) เป็นวิธีมอบหมายงานที่แบ่งการพยาบาลออกเป็นกิจกรรม และมอบหมายให้พยาบาลแต่ละคนรับผิดชอบเฉพาะ 1-2 กิจกรรม
การมอบหมายงานเป็นทีม (Team Method) เป็นการมอบหมายงานให้บุคลากรทำเป็นกลุ่มเล็ก โดยมีพยาบาลวิชาชีพทำหน้าที่เป็นหัวหน้ากลุ่ม แบ่งความรับผิดชอบจากหัวหน้าตึกและกระจายความรับผิดชอบไปยังบุคลากรอื่นที่ร่วมกลุ่มปฏิบัติงาน
การมอบหมายงานเฉพาะรายผู้ป่วย (Case Method) เป็นการมอบหมายให้พยาบาลดูแลให้การพยาบาล โดยทั้งหมดแก่ผู้ป่วย 1 ราย หรือมากกว่า ซึ่งเป็นการพยาบาลเบ็ดเสร็จอย่างสมบูรณ์แบบ
การมอบหมายงานแบบผสมผสาน (Mix Method) เป็นการมอบหมายงานที่ไม่ได้ใช้วิธีใดวิธีหนึ่งโดยเฉพาะ แต่เป็นการผสมผสานกัน เช่น แบบทีมรวมกับแบบตามหน้าที่