Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความต้องการดูแลสุขภาพแต่ละวัย - Coggle Diagram
ความต้องการดูแลสุขภาพแต่ละวัย
วันทารก และวัยเด็ก เป็ยวัยที่พ่อแม่และผู้ใหญ่ในครอบครัวจะให้การดูแลจัดการวางแผน รวมถึงการปลูกฝัง ให้มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพตนเองโดย ปฎิบัติตามสุขบัญญัติ 10 ประการ จนเป็นนิสัยเพื่อให้มีภาระเจริญเติบโตที่เหมาะสมกับวัยและเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพของสังคม
วัยรุ่น อายุตั้งแต่ 13-20 ปีเป็นช่วงของการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย อารมณ์ และพฤติกรรมอย่างรวดเร็ว เป็นช่องต่อระหว่างวัยเด็กและผู้ใหญ่ ซึ่งถือเป็นช่วงที่มีความสำคัญที่จะสร้างเสริมสุขภาพ และปลูกฝังแบบแผนการดำเนินชีวิตด้านการดูแลสุขภาพที่เมหาะสมเพื่อที่จะได้เติบโตเป็นผู้ใหญ่มีคุณภาพ และมีสุขภาพสมบูรณ์
วัยผู้ใหญ่แบ่งเป็น 2 ช่วงคือ วัยผู้ใหญ่ตอนต้น 20-40 และ วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง 40-60 ปี บุคคลในวัยผู้ใหญ่ตอนต้นมีการพัฒนาทางร่างกาย อย่างเต็มที่ทั้งเพศหญิงและเพศชาย ร่างกายสมบูรณ์ มีการพัฒนาความสูงมาจากวัยรุ่น และจะมีความสูงที่สุด ในวัยผู้ใหญ่ตอนต้นนี้เป็นวัยทำงานและสร้างครอบครัว เมื่อเข้าสู่อายุวัยกลางคนตั้งแต่ 40 ขึ้นไป จะมีการเปลี่ยนแปลงในทางที่เสื่อมถอยลง จะต้องมีการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม เพื่อให้ร่างกายดำรงประสิทธิภาพที่ดีไว้และป้องกันการเกิดโรค
วัยสูงอายุ ตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป อวัยวะทุกระบบในร่างกายมีการเสื่อมถอยตามวัย ปัญหาทางกายภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ประกอบด้วย การเคลื่อนที่ไม่คล่องตัวและการกลั้น ปัสสาวะไม่ค่อยได้ ข้อกระดูกเสื่อม ท้องผูก ตาเป็นต้อกระจก หูตึง นอนไม่หลับ การดูแลสุขภาพในช่วงวัยก่อนสูงอายุ จะลดปัญหาดังกล่าวได้
สภาพปัญหาของผู้สูงอายุ
1.1 ปัญหาการเจ็บป่วย มาจากความเสื่อมของร่างกาย และความต้านทานโรคลดลง
1.2 ปัญหาจิตใจ และ อารมณ์ มาจากการเปลี่ยนทางร่างกาย และสังคม เป็นผลทำให้เกิดปัญหาด้านจิตใจ และ อารมณ์
1.3 ปัญหาเศรษฐกิจ รายได้ลดลง เงินออมไม่มีใช้ ขาดคนดูแล
1.4 ปัญหาสังคม เพื่อนฝูงลดลง ลูกหลาน ไปอยู่ที่อท่น ทิ้งผู้สูงอายุไว้ตามลำพัง ึวามผูกพัน ลดลง เกิดความรู้สึกโดดเดี่ยวอ้างว้าง
สภาพปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ เหมือนกับบุคคลทั่วไป เป็นความต้องการพื้นฐาน ได้แก่
ความต้องการทางด้านสรีรวิทยา เป็นความต้องการด้านร่างกาย ได้แก่ อาหาร น้ำ อากาศ การพักผ่อน ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่มห่ม
2.ความต้องการความปลอดภัย และ ความมั่นคง
3.ความต้องการความรัก เห็นอกเห้นใจ จากครอบครุว บุตรหลาน ความใกล้ชิด
4.ความต้องการเกียรติยศ ชื่อเสียง การยอมรับ ยกย่อง
5.ความต้องการที่จะประสบความสำเร็จในชีวิต
การจัดการสำหรับผู้สูงอายุ
1.ภาครัฐ
1.1 ด้านอนามัย คลินิก สวัสดิการฟรี ชมรมผู้สูงอายุ
1.2ด้านการศึกษา
1.3 ด้านสวัสดิการ ภายใต้ความรับผิดชอบของกรมประชาสงเคราาะห์
2.ภาคเอกชน
2.1โรงพยาบาลเอกชน มีอยู่ 2 ลักษณะ คือ
2.1.1 โรงพยาบาลเอกชนเชิงธุรกิจโดยตรง
2.1.2 โรงพยาบาลเอกชนที่ไม่ได้ดำเนินการเชิงธุรกิจโดยตรง
2.2 สถานสงเคราะห์เอกชนที่มให้การสงเคราะห์แก่ผู้สูงอายุฟรี
2.3ศูนย์บริการสุขภาพ
2.4 ที่อยู่อาศัยเฉพาะผู้สูงอายุ
2.5สถานที่รับดูแลเฉพาะผู้สูงอายุ
การดูแลผู้สูงอายุ ที่มีภาวะปกติ
1.ด้านร่างกาย
1.1อาหาร
1.2การออกกำลังกาย
1.3การป้องกันอุบัติเหตุ
1.4การพักผ่อนนอนหลับ
2.ด้านจิตสังคม
2.1 การลดความวิตกกังวล
2.2 การใช้เวลาว่าง
2.3การส้รางสังคมให้ตระหนักถึงความสำคัญของผู้สูงอายุ
2.4การป้องกันผู้สูงอายุถูกทารุณกรรม ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะเจ็บป่วย
1.เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว
2.เกี่ยวกับการพูด การสื่อความหมาย
3.เกี่ยวกับการรับประทานอาหาร
4.เกี่ยวกับการรับความรู้สึก และการรับรู้
5.เกี่ยวกับสติปัญญา และการรับรู้
6.เกี่ยวกับการขับถ่าย
7.เกี่ยวกับเพศสัมพันธ์
8.ด้านจิตสังคม
หลักการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะเจ็บป่วย
การดูแลโดยทั่วไปที่จำเป็น อากาศ น้ำ อาหาร การพักผ่อน การออกกำลังกาย
2.การดูแลจัดการให้ได้รับยา
3.การดูแลด้านจิตใจ
4.การดูแลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
5.การดูแลเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพ