Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart Failure) - Coggle Diagram
ภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart Failure)
สาเหตุ
ความผิดปกติของหัวใจแต่กําเนิด
ผนังกั้นห้องหัวใจรั่ว
ภาวะมีเลือดลัดวงจรจากซ้ายไปขวา
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจตีบ
หัวใจทำงานหนัก
ลิ้นหัวใจรั่ว
หัวใจทำงานหนัก
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ
หัวใจห้องล่างบีบตัวลดลง
กล้ามเนื้อหัวใจหนา
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
จะเกิดจากโรครูมาติค
มีโอกาสที่จะเกิดไข้รูมาติกซ้ํา
เกิดภาวะหัวใจวายได้
ความผิดปกติของหลอดเลือดหัวใจ
Myocardial ischemia
induced heart failure)
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ
เยื่อหุ้มหัวใจหนาบีบรัดหัวใจ
ความดันโลหิตสูง
หัวใจทำงานหนักขึ้น
เกิดหัวใจโต
Cardiomegaly
ภาวะความดันเลือดในปอดสูง
P ระบบหลอดเลือดฝอยปอดเพิ่มขึ้น
หัวใจล่างขวาทำงานเพิ่มขึ้น
ยืดขยายและหนาผิดปกติ
พยาธิสรีรภาพ
ปสธภ.หัวใจ = cardiac output
ค่าปกติ 5 – 6 ลิตร/นาที
ลดลงเมื่ออายุมากขึ้น
การทำงานของหัวใจ
อัตราการเต้นของหัวใจ (Heart rate)
ปริมาตรเลือดที่ไหลกลับเข้าสู่หัวใจห้องล่างก่อนการบีบตัว (Preload)
แรงต้านทานการไหลของเลือดขณะหัวใจบีบตัว
ความสามารถในการบีบตัว
ถ้าเลือดส่งออกหัวใจลดลง
การเพิ่มการทํางานของระบบประสาทซิมพาเทติก
ทําให้หลอดเลือดหดตัว
เลือดดำไหลกลับเข้าหัวใจมากขึ้น
หัวใจจะมีความแรงและความเร็วในการบีบตัวเพิ่มขึ้น
V เลือดออกจากหัวใจเพิ่มขึ้น
กระตุ้นการทํางานของ Renin angiotensin aldosterone system
Link Title
การเพิ่มขนาดของกล้ามเนื้อหัวใจ
หัวใจทำงานหนัก = เพิ่มขนาดกล้ามเนื้อ
ความสามารถในการยืดหดตัวลดลง
ผนังกล้ามเนื้อหัวใจยืดขยาย
ทําให้ผนังหัวใจบางลงเนื่องจากมีเลือดเหลือค้างอยู่ใน
หัวใจห้องล่างมาก
ชนิดของหัวใจล้มเหลว
แบ่งตามเวลาการเกิดโรค
New onset heart failure หมายถึง หัวใจล้มเหลวที่เกิดขึ้นครั้งแรก
Transient heart failure หมายถึง หัวใจล้มเหลวที่มีอาการชั่วขณะ
Chronic heart failure หมายถึง หัวใจล้มเหลวที่มีอาการเรื้อรัง
แบ่งตามการทํางานของกล้ามเนื้อหัวใจ
แบ่งตามอาการและอาการแสดงของหัวใจที่ผิดปกติ
แบ่งตามลักษณะของ Cardiac output
อาการและอาการแสดง
ภาวะหัวใจข้างซ้ายล้มเหลว
หายใจเหนื่อย (Dyspnea)
เหนื่อยง่ายเมื่อออกแรง (Dyspnea on exertion)
เหนื่อยหอบในท่านอนราบ (Orthopnea)
อาการหายใจไม่สะดวกขณะนอนหลับและต้องตื่นขึ้นเนื่องจากอาการหายใจไม่สะดวก
หายใจแบบ Cheyne – Stokes
หายใจช้าลง ---> หยุดหายใจชั่วขณะ----->หายใจใหม่
เลือดไหลเวียนจากปอดไปสมองช้า
อาการไอ
P ปอดเพิ่ม ----->สารน้ำมาล้อมรอบถุงลม
------>เข้าถุงลม
------>ระคายเคือง=ไอ
ปอดมีสารน้ำคั่่งมาก=ไอมีเสมหะเป็นเลือดปน
ภาวะปอดบวมน้ํา (Pulmonary edema)
ความสามารถในการบีบตัวของหัวใจลดลง = เลือดค้างในหัวใจมากขึ้น
ท้นกลับปอด
P หลอดเลือดฝอยสูง(> 28 mmhg )----->
สารน้ำออกจากหลอดเลือด----->ไปล้อมรอบถุงลม------>แลกเปลี่ยน O2 ไม่ดี , ปอดขยายไม่ดี
ฟังเสียงหายใจ
Wheeze
Crepitation
หอบเหนื่อย มีเสมหะเป็นฟองสีชมพู (Frothy sputum)
อาการเขียว (Cyanosis)
อาการในระบบหัวใจและหลอดเลือด
อาการทางสมอง
กระสับกระส่าย สับสน ความจําเสื่อม ฝันร้าย วิตกกังวล นอน
ไม่หลับ งุนงง บางรายอาจเป็นลมหมดสติได้
อาการเหนื่อยล้าและกล้ามเนื้ออ่อนแรง
ปัสสาวะออกน้อย (Oliguria)
ภาวะหัวใจข้างขวาล้มเหลว
อาการบวมกดบุ๋มส่วนปลาย----->เท้าและข้อเท้า
ตับและม้ามโต และลําไส้บวม------>
แน่นหรือจุกบริเวณใต้ชายโครงหรือลิ้นปี่
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ และ
อาเจียน
ท้องมาน (Ascites)
หลอดเลือดดําที่คอโป่งตึง (Neck vein engorged)
ปัสสาวะบ่อยในตอนกลางคืน (Nocturia)
หายใจเหนื่อยหอบ
กระสับกระส่าย สับสน เหนื่อยล้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง ความทนในการทํากิจกรรมลดลง
การรักษา
การให้ออกซิเจนในผู้ที่อาการไม่รุนแรง
ให้ออกซิเจนแคนนูลา 4 – 6 ลิตร/นาที
ยาเพิ่มการบีบตัวของหัวใจ
Captopril 6.5–50 mg t.i.d
Enalapril 2.5–20 mg b.i.d.
Lisinopril 2.5–40 mg daily
Quinapril 5–20 mg daily
Ramipril 1.25–10 mg daily
การลดภาระงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
ให้ยาขับปัสสาวะ
ให้ยาขยายหลอดเลือด
การรักษาด้วยการปรับเปลี่ยนวิถีการดําเนินชีวิต
รับประทานอาหารที่มีโปตัสซียมสูง
ลดการบริโภคอาหารไขมันอิ่มตัว หรืออาหารที่มีแคลอรี่สูง
จํากัดการรับประทานอาหารรสเค็ม Na < 2 g/day
ท่า High Fowler’s position หรือนั่งบนเก้าอี้และห้อยขาลง
การพักผ่อนทั้งร่างกายและจิตใจ จะช่วยลดการทํางานของกล้ามเนื้อหัวใจ
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะน้ําท่วมปอดเฉียบพลัน (Acute pulmonary edema)
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ (Cardiac arrhythmias)
อวัยวะหลายระบบล้มเหลว (Multisystem failure)