Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามแนวทางการจัดการศึกษาเชิงพหุวัฒน…
หน่วยที่ 7
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ตามแนวทางการจัดการศึกษาเชิงพหุวัฒนธรรม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
วิสัยทัศน์
มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก
จุดหมาย
มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต
มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย
มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก
มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการแก้ปัญหา
ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ความสามารถในการสื่อสาร
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
อยู่อย่างพอเพียง
มีวินัย
มุ่งมั่นในการทำงาน
ซื่อสัตย์สุจริต
รักความเป็นไทย
มีจิตสาธารณะ
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
2. กิจกรรมนักเรียน
กิจกรรมชุมนุม
กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี
3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อครอบครัว ชุมชน สังคม
ร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 10 ชั่วโมงต่อปีการศึกษา
1. กิจกรรมแนะแนว
เป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คำปรึกษาแก่ผู้ปกครองในการมีส่วนร่วมพัฒนาผู้เรียนนักเรียนทุกคน
กิจกรรมแนะแนว 40 ชั่วโมงต่อปีการศึกษา
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิดตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กำหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียน
เกณฑ์การตัดสิน
เกณฑ์การตัดสินผลการประเมินรายกิจกรรม
3.เกณฑ์การตัดสินผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนรายปี/รายภาค
กำหนดเกณฑ์การประเมินตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
เกณฑ์การตัดสินผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อจบระดับการศึกษา
แนวทางการจัดการศึกษาเชิงพหุวัฒนธรรมในโรงเรียน
ความหมาย
รูปแบบของการจัดการศึกษาประเภทหนึ่ง ที่สภาพแวดล้อมทางการศึกษาประกอบไปด้วยนักเรียนที่มาจากกลุ่มวัฒนธรรมที่ต่างกัน
กระบวนจัดการศึกษาที่ได้รับการออกแบบมา เพื่อพัฒนาส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความตระหนักรู้ และการยอมรับในความแตกต่างทางวัฒนธรรม
กระบวนการของการสอน และการเรียนรู้ ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเชื่อ ค่านิยมแบบประชาธิปไตย และปรัชญาพหุวัฒนธรรมนิยม ( Cultural Pluralism)
รูปแบบการจัดการศึกษาพหุวัฒนธรรม
การสร้างความรู้ใหม่ (The Knowledge Construction Process)
การลดอคติ (Prejudice Reduction)
บูรณาการเนื้อหาวัฒนธรรมของนักเรียน เข้าไปในวิชาต่างๆ (Content Integration)
การสอนที่ยึดหลักความยุติธรรม (Equity Pedagogy)
การปรับโครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรมในโรงเรียน
(An Empowering School Culture and Social Structure)
การจัดการศึกษาเชิงพหุวัฒนธรรม
ศิลป์ชัย สุวรรณมณี
และคณะ (2557)
ศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันรูปแบบการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐที่สอดคล้องกับบริบทสังคมพหุวัฒนธรรม กรณีศึกษาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
วัตถุประสงค์
เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (ConfirmFactor Analysis) รูปแบบการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐที่สอดคล้องกับบริบทสังคมพหุวัฒนธรรม กรณีของสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ผลการวิจัย
รูปแบบการบริหารโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาของรัฐที่สอดคล้องกับบริบทสังคมพหุวัฒนธรรม กรณีศึกษาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
องค์ประกอบย่อยและองค์ประกอบหลักมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์
ลำพอง กลมกูล (2561)
ได้ศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับพหุวัฒนธรรมทางศาสนากับแนวทางการอยู่ร่วมกันของจีนและมลายู : กรณีศึกษาประเทศบรูไน
ผลการวิจัย
และความเชื่อในบรูไนส่งผลให้เกิดขันติธรรมในการอยู่ร่วมกัน
โดยมีหลักคิดทางศาสนาที่ยึดมั่นในขันติธรรม มีความอดทน อดกลั้นต่อความแตกต่าง เคารพและให้เกียรติต่อความแตกต่างของเพื่อนทุกคนในสังคม
ความแตกต่างทางศาสนา ชาติพันธุ์
วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาความเป็นพหุวัฒนธรรมทางศาสนากับแนวทางการอยู่ร่วมกันของคนจีนและคนมลายูในประเทศบรูไน
ชรินทร์ มั่งคั่ง (2562)
สำหรับการปฏิบัติเชิงวิชาชีพของครูสังคมศึกษาโดยครูส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70)
ไม่มีการปฏิบัติเชิงวิชาชีพตามองค์ประกอบการจัดการศึกษา 4 ด้าน
การวิเคราะห์หลักสูตร
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร
การพัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การรู้พหุวัฒนธรรมศึกษาของครูสังคมศึกษามีการรู้โดยรวมระดับน้อย
(ค่าเฉลี่ย 1.22)
ศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับการรู้พหุวัฒนธรรมศึกษาและการปฏิบัติเชิงวิชาชีพของครูสังคมศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา
วัตถุประสงค์
การปฏิบัติเชิงวิชาชีพของครูสังคมศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา
เพื่อศึกษาระดับการรู้พหุวัฒนธรรมศึกษา