Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภัยพิบัติธรรมชาติทางธรณีภาค - Coggle Diagram
ภัยพิบัติธรรมชาติทางธรณีภาค
แผ่นดิไหว
ความหมาย
เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก (แนวระหว่างรอยต่อธรณีภาค) ทำให้เกิดการเคลื่อนตัวของชั้นหินขนาดใหญ่เลื่อน เคลื่อนที่ หรือแตกหักและเกิดการโอนถ่ายพลังงานศักย์ผ่านในชั้นหินที่อยู่ติดกัน
สาเหตุ
จากมนุษย์
การทดลองระเบิดปรมาณู
การกักเก็บน้ำในเขื่อน และแรงระเบิดจากการทำเหมืองแร่
จากธรรมชาติ
การเคลื่อนตัวของฉับพลันของรอยเลื่อนมีพลัง
แหล่งกำเนิด
แหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวหรือบริเวณตำแหน่งศูนย์กลางแผ่นดินไหวส่วนใหญ่จะอยู่ตรงบริเวณ ขอบของแผ่นเปลือกโลก แนวรอยเลื่อนต่าง ๆ และบริเวณที่มนุษย์มีกิจกรรมกระตุ้นให้เกิดแผ่นดินไหว เช่น เหมือง เขื่อน บ่อน้ำมัน บริเวณที่มีการฉีดของเหลวลงใต้พื้นดิน บริเวณที่มีการเก็บกากรังสี
ผลกระทบ
ทำให้เกิดพื้นดินแตกแยก
ภูเขาไฟระเบิด
อาคารสิ่งก่อสร้างพังทลาย
ไฟไหม้
แก๊สรั่ว
กระบวนการเกิด
การขยายตัวของเปลือกโลก
การคืนตัวของวัตถุ
ดินถล่ม
ความหมาย
เป็นการเลื่อนไถลตามแรงโน้มถ่วงของโลกของมวลดินและหินในพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง เช่น แนวเขา หน้าผา นอกจากนี้ยังเกิดในพื้นที่ภูเขาสูงรองรับด้วยหินแกรนิตและหินดินดานเป็นป่าโปร่งตามธรรมชาติและพบต้นไผ่ขึ้นอยู่ทั่วไป
สาเหตุ
การกระทำของธรรมชาติ โดยเฉพาะแผ่นดินไหว รวมไปถึงปริมาณน้ำฝน อันเกิดจากฝนตกหนักเป็นเวลานานจากพายุฝนฟ้าคะนอง ภูเขาไฟปะทุ หิมะถล่ม
การกระทำของมนุษย์ ได้แก่ การเพาะปลูกบริเวณไหล่เขาและบนเขา การสร้างสิ่งปลูกสร้าง การตัดไม้เพื่อทำพื้นที่การเกษตรและอยู่อาศัย การทำเหมือง และการระเบิดภูเขา
แหล่งกำเนืด
ภูเขาที่มีความลาดชันสูง
บริเวณที่มีรอยเลื่อนที่มีพลัง
กระบวนการเกิด
ฝนตกหนักทำให้น้ำซึมลงในดินอย่างรวดเร็ว
ดินอุ้มน้ำจนอิ่มตัวแรงยึดเกาะของดินลดลง ทำให้ดินค่อยๆไหลลงมา
ผลกระทบ
เหตุการณ์แผ่นดินทรุด อาจทำให้บ้านเรือนเสียหาย เกิดการเปลียนถิ่นที่อยู่อาศัย เพราะการทรุดตัวลงอาจทําให้พื้นที่อยู่ต่ำกว่าระดับนํ้ำทะเล เช่น กรุงเทพมหานคร เกิดความเสียหายได้ นอกจากนั้น การทรุดลงเฉียบพลันอาจก่อให้เกิดการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนได้
สึนามิ
ความหมาย
เป็นกลุ่มคลื่นน้ำที่เกิดขึ้นจากการย้ายที่ของปริมาตรน้ำก้อนใหญ่ คือ มหาสมุทรหรือทะเลสาบขนาดใหญ่ แผ่นดินไหว การปะทุของภูเขาไฟและการระเบิดใต้น้ำอื่น ๆ
สาเหตุ
เมื่อแผ่นดินใต้ทะเลเกิดการเปลี่ยนรูปร่างอย่างกะทันหัน จะทำให้น้ำทะเลเกิดเคลื่อนตัวเพื่อปรับระดับให้เข้าสู่จุดสมดุลและจะก่อให้เกิดคลื่นสึนามิ การเปลี่ยนรูปร่างของพื้นทะเลมักเกิดขึ้นเมื่อเกิดแผ่นดินไหวเนื่องจากการขยับตัวของเปลือกโลก ซึ่งจะเกิดบริเวณที่ขอบของเปลือกโลกหลายแผ่นเชื่อมต่อกันที่เรียกว่า รอยเลื่อน เช่น บริเวณขอบของมหาสมุทรแปซิฟิก นอกจากแผ่นดินไหวแล้ว ดินถล่มใต้น้ำที่มักเกิดร่วมกับแผ่นดินไหวสามารถทำให้เกิดคลื่นสึนามิได้
แหล่งกำเนิด
กระบวนการเกิด
ผลกระทบ
ทำให้แผ่นเปลือกโลกขยับ ค่าพิกัดทางภูมิศาสตร์คลาดเคลื่อนไป
ส่งผลให้สภาพพื้นที่ชายฝั่งทะเลเปลี่ยนแปลงไปในช่วงเวลาอันสั้น
ทำให้สูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินต่างๆ เช่น บ้านเรือนเสียหาย ระบบสาธารณูปโภคถูกทำลาย
ภูเขาไฟประทุ
ความหมาย
เป็นธรณีสัณฐานที่หินหนืดปะทุผ่านขึ้นมายังพื้นผิวของดาวเคราะห์ ภูเขาไฟมักเกิดขึ้นใกล้กับแนวรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก อย่างไรก็ตาม ยังมีภูเขาไฟที่เป็นข้อยกเว้น เรียกว่า จุดร้อนภูเขาไฟ
สาเหตุ
กระบวนการระเบิดของภูเขานั้นยังไม่เป็นที่เข้าใจกระจ่างชัดนัก นักธรณีวิทยาคาดว่ามีการสะสมของความร้อนอย่างมากบริเวณนั้น ทำให้มีแมกมา ไอน้ำ และแก๊ส สะสมตัวอยู่มากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งก่อให้เกิดความดัน ความร้อนสูง เมื่อถึงจุดหนึ่งมันจะระเบิดออกมา อัตราความรุนแรงของการระเบิด ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการระเบิด รวมทั้งขึ้นอยู่กับความดันของไอ และความหนืดของลาวา ถ้าลาวาข้นมากๆ อัตราการรุนแรงของการระเบิดจะรุนแรงมากตามไปด้วย
แหล่งกำเนิด
วงแหวนแห่งไฟ
เอเชียตะวันออก
เอเชียตะวันตก
อเมริกาตะวันออก
กระบวนการเกิด
ารระเบิดของภูเขาไฟ แสดงให้เห็นว่าใต้เปลือกโลกลงไปมีความร้อนสะสมอยู่มาก ภูเขาไฟเกิดจากหินหนืดร้อน เหลว (แมกมา) ที่อยู่ในส่วนลึกใต้เปลือกโลก เคลื่อนตัวด้วยแรงดันออกมาสู่ผิวของเปลือกโลก ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และทางเคมีภายในเปลือกโลกขึ้น อัตราความรุนแรง ของการระเบิดขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการระเบิด ความดันของไอ และความหนืดของลาวา ถ้าลาวาข้นมาก ๆ อัตราความรุนแรงของการระเบิดจะรุนแรงมากตามไปด้วย เวลาภูเขาไฟระเบิด มิใช่มีแต่ลาวาที่ไหลออกมาเท่านั้น ยังมีไอน้ำ ก๊าซ ฝุ่นผงเถ้าถ่านต่าง ๆ ออกมาด้วย
ผลกระทบ
สร้างความสูญเสียแก่ชีวิตและทรัพย์สิน
เกิดมลภาวะทางอากาศและทางน้ำ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต
การปะทุของภูเขาไฟใต้ท้องทะเล อาจก่อให้เกิดสึนามิตามมา