Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะ neonatal jaundice, นางสาวสิริมา หลีเจริญ รหัส 621001124 เลขที่122 -…
ภาวะ neonatal jaundice
อาการ
ซึม ไม่ดูดนม
มีจุดเลือดตามตัวหรือมีรอยเลือดออกบนผิวหนัง
ซีดหรือบวม
ตับเเละม้ามโต
ถ้ามีระดับ Bilirubin สูงมากอาจทำให้สมองพิการเเละเสียชีวิตได้
อาการตัวเหลือง (มักจะเห็นบริเวณใบหน้า เเละ จมูกก่อน)
ร้องเสียงเเหลม
พยาธิสภาพ
Erythoblastosis fetalis
บิลิรูบิน (Bilirubin) ในเลือดสูงกว่าปกติ
เกิดภาวะ Kernicterrus
ตับของทารกยังทำหน้าที่ได้ไม่สมบูรณ์ การขับถ่ายสารสีเหลืองออกจากร่างกายไม่ดี
ภาวะตัวเหลืองของทารก (Neonatal Jaundice)
Pathological Jaurdice
ภาวะตัวเหลืองจากการเเตกของเม็ดเลือดเเดง
G-6-PO Deficiency
Thaiassemia
Spherocytosis or Eliiptocytosis
Polyoythemia
Cephalhematoma
Blood group incompatible
ภาวะตัวเหลืองจากการสร้างบิลิรูบินมากกว่าปกติรวมกับการขับถ่ายบิลิรูบินน้อยกว่าปกติ
Sepicemia
ภาวะติดเชื้อตั้งเเต่ในครรภ์
ภาวะตัวเหลืองจากการกำจัดบิลิรูบินได้น้อยกว่าปกติ
Obstructive Jaundice
Congenital Hypothyroidism
ภาวะพร่องเอนไซม์ UDP-Glucuronyl Transferase
ยาบางชนิด
ภาวะเหลืองจากการดูดซึมบิลิรูบินทางลำไส้เพิ่มขึ้น
ทารกดูดนมได้น้อย
ภาวะลำไส้อุดตัน
ลำไส้ของทารกมีการทำงานที่ลดลง
Physiological jaundice
ปริมาณบิลิรูบินมากขึ้นจากการเเตกของเม็ดเลือด
มีการดูดซึมของบิลิรูบิน จากสำไส้ปริมาณมาก จกาการได้รับน้ำนมในปริมาณน้อย
ความสามารถในการกำจัดบิลิรูบินของตับยังไม่ดี
Brest milk jandice
ภาวะตัวเหลืองจากนมเเม่ (ยังไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจน)
พบได้ในทารกที่เลี้ยงด้วยนมเเม่เพียงอย่างเดียว
การรักษา
การถ่ายเปลี่ยนเลือด
ในกรณีที่ระดับบิลิรูบินสูงมากหรือทารกเริ่มมีอาการเเสดงทางสมองเพื่อลดระดับบิลิรูบินอย่างรวดเร็ว
การเเก้ไขสาเหตุของภาวะตัวเหลือง
ภาวะตัวเหลืองที่สัมพันธ์กับนมเเม่
การผ่าตัด
การติดเชื้อในกระเเสเลือด
การใก้ยาปฏิชีวนะ
ภาวะพร่องไทรอยด์เเต่กำเนิด
การให้ฮอร์โมนทดเเทน
การส่องไฟรักษา
การใช้หลอดไฟชนิดพิเศษที่มีความยาวคลืนเเสงที่เหมาะสม
การพยาบาล
เสี่ยงเกิดภาวะเเทรกซ้อนจาการการส่องไฟ
ให้นมเเละสารน้ำตามเเผนการรักษาของเเพทย์
เช็ดทำความสะอาดอวัยวะเพศทุกครั้งหลังถ่ายปัสสาวะเเละอุจจาระ เช็ดให้เเห้ง เเละสังเกตอาการก้นเเดง-บันทึกลักษณะสี จำนวนครั้งของปัสสาวะเเละอุจจาระ
บันทึกอุณหภูมิทุก 4 ชั่วโมง
บันทึก I/O ชั่งน้ำหนักอย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
เปลี่ยน eye pads ทุก 8 ชั่วโมง
ประเมินอาการเเละอาการเเสดงของภาวะขาดน้ำ เช่น ตัวร้อน ผิวเเห้ง ชีพจรเต้นเร็ว
ปิดตาด้วย eye pads เเละ สังเกต eye discharge เช็ดทำความสะอาดด้วย NSS เเละรายงานเเพทย์
สังเกตอาการทำลายของเนื้อเยื่อสมอง เช่น ดูดนมไม่ดี ซึมลง ร้องเสียงเเหลม
อาจเกิดภาวะเเทรกซ้อนจากการเปลี่ยนถ่ายเลือด
เจาะเลือดเพื่อหาหมู่เลือดเเละทดสอบเลือดของผู้บริจาคส่งเลือดพร้อมกับใบขอเลือดไปยังธนาคารเลือด
ตรวจ ชื่อ-นามสกุล กรุ๊ปเลือดให้ตรงกับผู้ป่วย
NPO 3-4 ชั่วโมงก่อนทำเเละดูด gastric content ออก
บันทึกอุณหภูมิก่อนทำเเละหลังทำ on radiant warmer เเละอุ่นเลือดก่อนให้
บันทึก RR,Pulse,สีผิว,BP ก่อนทำเเละหลังทำ suctionให้เมื่อมีเสมหะ
บันทึกระยะเวลาเเละจำนวนเลือดที่ดูดออกเเละนำเข้า
สังเกตอาการผิดปกติ เช่น หนาวสั่น มีผื่นตามตัว เเละกระตุกรอบๆปาก อาการเเสดงของภาวะ Hypercalcemia
สังเกตอาการเเสดงของ eyectrolyte imbalance เช่น ขัก หยุดหายใจ
ติดตาม Hb/Hct ก่อนเเละหลังให้เลือด
นางสาวสิริมา หลีเจริญ รหัส 621001124 เลขที่122