Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สมัยการติดต่อกับยุโรป - Coggle Diagram
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
สมัยการติดต่อกับยุโรป
การเข้ามาของชาติตะวันตกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การขยายอำนาจของชาติตะวันตกในระยะแรก
1.การฟื้นฟูศิลปวิทยาการของกรีกและโรมัน ( Renaissances )
2.การปฏิรูปศาสนา
3.การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การขยายอำนาจของชาติตะวันตกในระยะที่สอง (สมัยลัทธิจักรวรรดินิยม)
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
2.การเกิดแนวความคิดทางการเมือง (ชาตินิยม)และเศรษฐกิจแบบใหม่ C19
3.สงครามโลกครั้งที่ 1
4.สงครามโลกครั้งที่ 2
จุดมุ่งหมายของการเข้ามาของชาติตะวันตก
ผลประโยชน์ทางการค้า
คริสต์ศตวรรษที่ 14 พวกเตอร์ก (นับถือศาสนาอิสลาม) สามารถคุมเส้นทางการค้า
คริสต์ศตวรรษที่ 15-16 ยุโรปต้องการสินค้าเครื่องเทศ เพื่อใช้ในการประกอบอาหารและถนอมรักษาอาหาร (ผ้าจากอินเดีย ผ้าไหม ใบชา เครื่องถ้วยชามจากจีน)
โปรตุเกสเป็นชาติแรกที่พบเส้นทางมาเอเชียโดยผ่านแหลมกูดโฮป
สเปนเดินทางมาตะวันตกพบโลกใหม่ คือ ทวีปอเมริกา และเข้าไปที่ฟิลิปปินส์
การเผยแพร่ศาสนาคริสต์
กษัตริย์สเปนถือว่าได้รับมอบหมายจากสันตปาปาอุปถัมภ์ศาสนา (หาพันธมิตรต่อต้านมุสลิม)
การปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรป
คริสต์ศตวรรษที่ 18 ต้องการแสวงหาวัตถุดิบและจำหน่ายสินค้า เช่น ดีบุก ยางพารา น้ำมันมะพร้าว
ความสัมพันธ์กับประเทศตะวันตก
ความสัมพันธ์กับโปรตุเกส
C 15 โปรตุเกสเป็นผู้นำของยุโรป มีเมืองท่าคือ ลิสบอน, โอปอร์โต
ค.ศ.1497 วาสโค ดากามา เดินทางจากลิสบอนถึงอินเดีย ตั้งสถานีการค้าแห่งแรกที่แคว้นโคชินทางใต้ของอินเดีย
ชำนาญด้านการทำสงครามทางทะเล มีเรือรบ และอาวุธ
ค.ศ. 1511 โปรตุเกสเข้ายึดมะละกาเพื่อกำจัดอาหรับ ปกครองมะละกา แบบเมืองป้อม/แบบทหาร ตั้งฐานทัพเพื่อการค้าและขยายอำนาจไปยังหมู่เกาะเครื่องเทศ สร้างโบสถ์และกลายเป็นที่ตั้งของคริสต์จักรแห่งแรก
ค.ศ. 1511 โปรตุเกสติดต่อทางการฑูตกับไทยสมัยพระรามาธิราชที่ 2
C 17 เริ่มเสื่อม (ทำสงครามกับพวกมุสลิม, อาณานิคมกระจัดกระจาย) ต้น C 17 ยึดมะละกาจากโปรตุเกส
โปรตุเกสมีสถานีการค้า เกาะติมอร์
ความสัมพันธ์กับประเทศสเปน
ค.ศ.1494 ทำสนธิสัญญาทอร์เดซิลลัส กับโปรตุเกส สำรวจทางซีกตะวันตก
ค.ศ.1521 เฟอร์ดินานด์แมคเจนเลน (Ferdinand Maggellan) เดินทางพบฟิลิปปินส์ และถูกยึดปี พ.ศ.1565
เข้ามาเพื่อ ยึดครองและเปลี่ยนศาสนา
ความสัมพันธ์กับพวกดัทช์
ดัชท์นับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรแตสแตนท์ (สเปนกีดกันเส้นทางการค้า)
ค.ศ.1597 มาถึงชวา เดินทางจากปลายแหลมกูดโฮปมายังช่องแคบซุนดา
ค.ศ.1600 ตั้งสถานีการค้าที่เมืองแบนทัมทางตะวันตกของช่องแคบซุนดา รับซื้อพริกไทย ทำสนธิสัญญาผูกขาดกานพลูที่เกาะอัมโบนา
ค.ศ. 1602 ตั้งบริษัทอินเดียตะวันออกของดัชท์ (Vereenigde Oostindische Compagnie : VOC) โดยการสนับสนุนของรัฐบาลเนเทอร์แลนด์ เพื่อ ผูกขาดการค้า
ความสัมพันธ์กับอังกฤษ
ปลายC16 เดินทางตะวันตก ผ่านช่องแคบแมกเจนเลน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณเมืองเตอร์เนท เกาะโมลุคกะ ติดต่อค้าเครื่องเทศกับเตอร์เนท
ค.ศ. 1600 ตั้งบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ British East India Company
ค.ศ.1786 สุลต่านไทรบุรีอนุญาตให้อังกฤษตั้งสาขาได้ที่ปีนัง โดยจ่ายเงิน 3,000 ดอลลาห์ (ผูกขาดการค้าดีบุก หวายและคุมครอง ไทรบุรี)
ค.ศ.1795 ยึดมะละกา
C18 พม่าขยายอิทธิพลไปยังตะวันตก (อัสสัม จิตตะกอง) เขตอิทธิพลของอังกฤษ พม่าถูกยึดปีค.ศ.1885
ความสัมพันธ์กับฝรั่งเศส
ค.ศ.1601 รัฐบาลได้ส่งเรือสินค้ามายังเมืองแบนทัมในเกาะชวา
ค.ศ.1603 รัฐบาลฝรั่งเศสจัดตั้งบริษัทอินเดียตะวันออกของฝรั่งเศส
ค.ศ.1615 เผยแพร่คริสต์ศาสนาที่เวียดนาม
ค.ศ. 1684 ส่งฑูตติดต่อไทย (ไทยไม่พอใจ เพราะ ชักจูงให้เข้ารีด และดำเนินการทหาร)
สรุป
คริสต์ศตวรรษที่ 15 เข้ามาเพื่อติดต่อค้าขายกับบริเวณเมืองท่าบริเวณชายฝั่ง
คริสต์ศตวรรษที่ 19 และ ตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 SEA เกือบทั้งหมด อยู่ภายใต้การปกครองของชาวตะวันตก
คริสต์ศตวรรษที่ 18 ชาวตะวันตกเริ่มเข้ายึดครองดินแดน SEA