Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่6 การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอาย - Coggle Diagram
บทที่6 การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอาย
การพยาบาลเพื่อการจัดการปัญหาภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงของรํางกายที่สํงผลกระทบตํอภาวะโภชนาการผู้สูงอายุ
ปัญหาทางด้านจิตใจ เชํน ภาวะซึมเศร๎า ความเหงาจากการเกษียณ คู่ครอง
เสียชีวิต ลูกหลานทอดทิ้ง
ปัญหาการเจ็บป่วยทางร่างกาย เชํน ภาวะทุพพลภาพ การได้รับยาหลายชนิดร่วมกัน
ภาวะโภชนาการเดิมที่เป็นอยูํและบริโภคนิสัย ซึ่งเกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ในอดีตจนถึงปัจจุบัน
ความสามารถในการเข๎าถึงแหลํงอาหาร เชํน การเดินทาง การขนสํงที่สะดวก
ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ
. ความต้องการพลังงาน จะลดลงในผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุควรรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ในแต่ละวัน
ควรดื่มนมพร่องมันเนยวันละ 1 แก้ว ไข่ 2-3 ฟอง/สัปดาห์ กินปลาอย่างน้อย 2 ครั้ง/สัปดาห์
การปูองกันภาวะพลัดตกหกล้ม (Prevention of fall)
หมายถึง การที่เกิดการเปลี่ยนท่าโดยไม่ตั้งใจและเป็นผลให้ร่างกายทรุดหรือลนอนกับพื้นหรือปะทะสิ่งของต่างๆ เช่น โต๊ะ
ชนิดของการหกล้ม
การล้มแบบพลาดหรือสะดุด
การล้มแบบลื่นไถล
ผลกระทบของการหกล้ม
กระดูกหักโดยเฉพาะบริเวณกระดูกสะโพก ข้อมือ ทำให้ต้องเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล
ผลกระทบทางด้านจิตใจ ได้แก่ ความวิตกกังวล ความกลัว ความอาย นำไปสู่ภาวะพึ่งพา ๖(fear of fall)
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
การพยาบาลเพื่อการสํงเสริมการพักผํอนนอนหลับในผู้สูงอายุ
วงจรการนอนหลับ
. NREM (non rapid eye movement) เป็นระยะที่ไม่มีการกลอกตาอย่างรวดเร็ว แบ่งเป็น 4 ระยะ
stage 1 ระยะเริ่มหลับหรือเคลิ้ม (falling asleep)
stage 2 ระยะเริ่มง่วง (drowsy)
stage 3 ระยะหลับลึก
stage 4 ระยะหลับลึก (deepsleep)
การหลับผิดปกติ
. การนอนไม่หลับ (INSOMIA)
การนอนหลับมากหรือง่วงเหงาหาวนอนมาก (hypersomnia)
Parasomia พฤติกรรมที่เกิดขึ้นขณะหลับ เช่น เดินละเมอเกิดใน nrem
การพยาบาลเพื่อการสํงเสริมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
กระบวนการสูงอายุที่มีผลต่อการออกกำลังกาย
มวลกระดูกลดลง ทำให้เกิดภาวะกระดูกพรุน ข้อเข่าเสื่อม
มวลกล้ามเนื้อลดลง ทำให้ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อลดลง
ประสิทธิภาพของการทำงานของปอดลดลง เนื่องจากถุงลมมีจำนวนลดลง จากเนื้อเยื่อเกี่ยวพันเกิดการเชื่อมตามขวาง มีผลต่อการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
จากทฤษฎีเชื่อมไขว้ ทำให้เกิดภาวะลิ้นหัวใจตีบ เลือดสูบฉีดได้ลดลง
ประเภทของการออกกำลังกาย
การออกกำลังที่เพิ่มความแข็งแรงทนทานของกล้ามเนื้อ
การออกกำลังที่เพิ่มสมรรถภาพของปอดและหัวใจ
การมีสํวนรํวมในสังคม (Social Participation)
การมีส่วนร่วมในสังคม (participation) หมายถึง การมีกิจกรรมในครอบครัว ชุมชนและสังคม เป็นผู้ดำรงไว้ซึ่งสิทธิมนุษยชนและวัฒนธรรมของสังคม ผู้สูงอายุ
ประเภทของกิจกรรมการมีส่วนร่วมในสังคม
กิจกรรมที่มีรูปแบบ (Formal activity) เช่น เข้าร่วมในสมาคมต่าง ๆ การเข้ากลุ่มทางศาสนา การเป็นอาสาสมัครเพื่อสังคม ซึ่งเป็นกิจกรรมภายนอกครอบครัว เป็นต้น
กิจกรรมที่ทำคนเดียว (Solitary activity) เช่น การทำงานในยามว่าง กิจกรรมเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจส่วนตัว และกิจกรรมภายในบ้าน เป็นต้น
กิจกรรมที่ไม่มีรูปแบบ (Informal activity) เช่น การช่วยเหลืองานของสมาชิกในครอบครัว และการพบปะสังสรรค์กับเพื่อน ญาติ เป็นต้น
การจัดการความเครียดในผู้สูงอายุ (Stress management)
สาเหตุความเครียดในผู้สูงอายุ
การเจ็บป่วย
การถูกทารุณกรรม abuse
สูญเสียบทบาท เช่น เกษียณอายุ ผู้นำครอบครัว
ขาดปัจจัยพื้นฐานในการดำเนินชีวิต เช่น ไร้ที่อยู่
ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในครอบครัว
การถูกทอดทิ้ง ความตาย เศรษฐกิจ
การพยาบาลเพื่อการจัดสิ่งแวดล้อมสำหรับผู๎สูงอายุ (Environment)
สภาพแวดล้อมภายในที่เหมาะสม
ประตูไม่มีธรณี ควรเป็นบานเลื่อนแบบเปิดออก
สัญญาณขอความช่วยเหลือเป็นสิ่งจำเป็นที่ควรติดไว้ตามจุดต่างๆภายในบ้าน
การตกแต่งภายในบ้านควร มีรูปภาพ รูปถ่ายที่ผู้สูงอายุคุ้นเคยเพื่อช่วยระลึกถึงเรื่องราวต่างๆ ได้มีปฏิทิน และนาฬิกา ที่มีขนาดใหญ่มองเห็นได้สะดวก เพื่อให้รู้วันเวลา
การนันทนาการเพื่อสร๎างเสริมสุขภาพในผู้สูงอายุ (Recreation)
หมายถึง กิจกรรมที่ทำตามสมัครใจในยามว่าง เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน
เพลิดเพลินและผ่อนคลายความตึงเครียด การสราญใจ
ประโยชน์สำหรับผู้สูงอายุ
ด้านร่างกาย : ร่างกายแข็งแรง อายุยืน ป้องกันโรค
ด้านจิตใจ : สนุกสนานเพลิดเพลิน ลดการพึ่งพา เกิดความภูมิใจในตนเอง มองโลกในแง่ดี
ด้านสังคม : กระตุ้นให้มีส่วนร่วมในสังคม กิจกรรมที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในสังคม เช่น กลุ่มสัมพันธ์ ส่งบอลเรียกชื่อ กลุ่มวิจารณ์ข่าว
ด้านสติปัญญา : ฝึกให้สมองได้คิดวางแผน เช่น เกมใบ้คำ การเขียนกลอน