Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 8 พลวัตของภาษาและวัฒนธรรมในสังคมไทย, banner1, _A young female…
หน่วยที่ 8
พลวัตของภาษาและวัฒนธรรมในสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงทางภาษา
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาษา
ปัจจัยภายในที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงภายในตัวภาษานั้นขึ้น
ปัจจัยภายนอกที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาษาปัจจัยภายนอกที่สำคัญที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางภาษา
ระบบการสื่อสารและเทคโนโลยีการพิมพ์
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาเดียวกันในช่วงเวลาที่ต่างกัน เป็นสิ่งที่นักภาษาศาสตร์เชิงประวัติให้ความสนใจ
การเปลี่ยนแปลงของภาษาเดียวกันในช่วงเวลาเดียวกัน
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศ
การปฏิรูปการศึกษา สังคม การเมือง และเศรษฐกิจ สมัยรัชกาลที่ 5 (พ.ศ.2411-2453)
ภาษาไทยยุคใหม่กับโลกสมัยที่เปลี่ยนแปลง
สาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในภาษาไทยสมัยใหม่
การเปลี่ยนแปลงภาษามีสาเหตุมาจากการตอบสนองความต้องการของมนุษย์
ตัวอย่างภาษาที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมภาษาวิบัติ หรือ ภาษาอุบัติ เป็นคาเรียกของการใช้ภาษาไทยที่มีการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงในภาษาไทยสมัยใหม่ภาษาเปลี่ยนแปลงในลักษณะของการออกเสียง คำศัพท์ รูปแบบ
ความอยู่รอดของภาษาไทยในยุคดิจิตอล
ปลุกจิตสำนึกในการหวงแหนภาษาไทยและรู้กาลเทศะการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง
เปลี่ยนแปลงตัวเอง เมื่อเรารู้ว่าคำใดใช้ผิดหรือถูก คำใดควรหรือไม่ควรใช้กับบริบทในขณะนี้แล้ว
ปลูกฝังวัฒนธรรมรักการอ่าน พ่อแม่ผู้ปกครองควรปลูกฝังวัฒนธรรมรักการอ่านให้กับบุตรหลานตั้งแต่เล็กๆ
ผลกระทบจากการใช้ภาษาวิบัติ
มีความต้องการจะปรับปรุงวิถีชีวิตของตนเองและครอบครัวให้มีสภาพดีขึ้นกว่าเดิม
ภาษาไทยในยุค 4.0
เปลี่ยนจากการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้าเชิง “นวัตกรรม”
เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม
เปลี่ยนจากการเน้นภาคการผลิตสินค้า ไปสู่การเน้นภาคบริการมากขึ้น
ภาษาไทย 4.0
ภาษาไทยสมัยใหม่
ภาษาไทย 3.0
ซึ่งเน้นเรื่องอุตสาหกรรมหนัก
ยุคที่สอนภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ดังที่ปรากฏอยู่ในหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการในปัจจุบัน
ภาษาไทย 2.0
ซึ่งเน้นเรื่องอุตสาหกรรมเบา
ยุคที่มีการอธิบายภาษาไทยโดยอาศัยโครงสร้างของภาษาอังกฤษตามแบบ สยามไวยากรณ์ ของ พระยาอุปกิตศิลปสาร
ภาษาไทย 1.0
เน้นเรื่องการเกษตร
ยุคที่การเรียนภารสอนภาษาไทยมุ่งเน้นที่การอ่าน การเขียน และการแต่งคำประพันธ์
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
นิสเบท (Nisbet,
1969 : 166-168)
การเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องของกฎธรรมชาติ
ไม่มีใครที่จะบังคับให้หยุดการเปลี่ยนแปลงได้
อธิบายการเปลี่ยนแปลงของชีวิตของมนุษย์
การเปลี่ยนแปลงเป็นแบบเดียวกัน
การเปลี่ยนแปลงทุกสังคมต้องผ่านขั้นตอนแบบเดียวกัน
การเปลี่ยนแปลงทุกสังคมในโลกจะมีการเปลี่ยนแปลงเหมือน ๆ กัน
สังคมเปลี่ยนแปลงได้เร็วกว่าบางสังคมเท่านั้น ในปัจจุบันนี้
การเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งจำเป็น
เพื่อให้มนุษย์มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีความเท่าเทียมกันในสังคม
การเปลี่ยนแปลงในสังคมนั้นเป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องทาให้เกิดขึ้น
การเปลี่ยนแปลงเป็นการต่อเนื่อง
การเปลี่ยนแปลงที่ได้กล่าวถึงที่ผ่านมานั้นมีขั้นตอนต่าง ๆ มองเป็นเรื่องของการต่อเนื่องเป็นสาเหตุสืบต่อกันมา
สังคมมีการเปลี่ยนแปลงผ่านขั้นตอนต่าง ๆ จากอดีตจนถึงยุคปัจจุบัน
การเปลี่ยนแปลงจากขั้นตอนหนึ่งไปสู่ขั้นตอนหนึ่งเป็นลักษณะของสายสัมพันธ์เชื่อมโยงหรือสาเหตุติดต่อกันไป
การเปลี่ยนแปลงเป็นอยู่ตลอดเวลา
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลานี้ ได้เกิดมาจากปัจจัยที่ผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
มีลักษณะของการกระทำหนึ่ง ๆ เป็นสาเหตุผลักดันไปสู่การเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสิ่งใด ๆ จะเกิดจากปัจจัยที่ผลักดันทาให้มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
อัลวิน ทอฟเลอร์ (AlvinToffler)
คลื่นลูกที่ 2 สังคมอุตสาหกรรม
คลื่นลูกที่ 3 สังคมแห่งเทคโนโลยี
คลื่นลูกที่ 1 สังคมเกษตรกรรม
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
2. ปัจจัยทางประชากร (Population)
การเปลี่ยนแปลงจำนวนประชากร
องค์ประกอบของประชากรนับว่ามีผลอย่างมากต่อการเปลี่ยนแปลง
ชุมชนที่มีประชากรเพิ่มขึ้นอย่างมากนั้นจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
ความเป็นอยู่ของประชาชนหรือแม้กระทั่งอัตราการเกิด การตาย การย้ายถิ่นฐานและปริมาณของเพศ
3. ปัจจัยทางกายภาพ (Physical)
ตามหลักวิทยาศาสตร์และดาราศาสตร์ก็สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้
เช่น การเกิดน้ำขึ้นน้ำลง ข้างขึ้นข้างแรม กลางวันกลางคืน สิ่งเหล่านี้อาจส่งผลต่อวิถีชีวิตของคนด้านการประกอบอาชีพ การตั้งถิ่นฐาน เป็นต้น
เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสภาพทางภูมิศาสตร์ ดาราศาสตร์และด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
1. ปัจจัยทางชีววิทยา (Biological)
องค์ประกอบต่าง ๆ ซึ่งเป็นตัวกำหนดสมาชิกตัวประกอบ การเลือก คุณภาพทางด้านพันธุกรรมที่ถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ
จึงมีความแตกต่างกันไปในด้านคุณภาพและด้านศักยภาพของมนุษย์ ในแต่ละสังคม
4. ปัจจัยทางวัฒนธรรม (Cultural)
การเลียนแบบและการหยิบยืมวัฒนธรรม
วัฒนธรรมทางวัตถุและมิใช่วัตถุ
การผสมผสานทางวัฒนธรรม
5. ปัจจัยทางด้านเทคโนโลยี (Technological)
การนำเอาเทคโนโลยีหรือการประดิษฐ์สิ่งใหม่มาใช้จะเป็นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงในสถาบัน
การประดิษฐ์สิ่งใหม่ขึ้นมาจะเพิ่มความสลับซับซ้อนของวัฒนธรรม
6. ปัจจัยด้านขบวนการสังคม (Social Movement)
ขบวนการสังคมทำให้มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การสังคมใด ๆ ก็ตามเมื่อดำเนินการได้สำเร็จหรือไม่สำเร็จก็ตาม จะมีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างใดอย่างหนึ่งเสมอ
7. ปัจจัยทางจิตวิทยา (Psychological)
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมมาจากจิตใจของมนุษย์
การเปลี่ยนแปลงนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป
ปัจจัยนี้มีความสำคัญอย่างมากที่ทำให้สังคมเปลี่ยนแปลง
ปัจจัยอื่น ๆ (Other)
ปัจจัยทางการศึกษา
ปัจจัยทางการเมืองและการทหาร
ปัจจัยทางเศรษฐกิจ
ปัจจัยทางศาสนาและอุดมการณ์ ความคิด ความเชื่อ
ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง
ปัญหาค่าใช้จ่ายที่ต้องมีในการสร้างความเปลี่ยนแปลง
ปัญหาอันเป็นผลต่อเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลง
ปัญหาการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
ปัญหาความไม่สมดุลของการเปลี่ยนแปลง
พลวัตของภาษาและวัฒนธรรมในสังคมไทย
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยทางวัฒนธรรม
ปัจจัยทางเศรษฐกิจ
ปัจจัยทางสังคม
ปัจจัยทางการเมือง
ปัจจัยทางธรรมชาติ
ปัจจัยภายนอก
มีกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
กระบวนการเปลี่ยนแปลงไปสู่ความเป็นเมือง
กระบวนการเปลี่ยนแปลงไปสู่ความทันสมัย
กระบวนการเปลี่ยนแปลงไปสู่ความเป็นอุตสาหกรรม
กระบวนการเปลี่ยนไปสู่ระเบียบริหารแบบราชการชุมชนหรือสังคมไทย