Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โครโมโซมและสารพันธุกรรม - Coggle Diagram
โครโมโซมและสารพันธุกรรม
โครโมโซม
รูปร่าง ลักษณะ และจำนวน
โครโมโซมของมนุษย์มี 23 คู่ หรือ 46 แท่ง
โครโมโซมเพศ 2 โครโมโซม
โครโมโซมร่างกาย 44 โครโมโซม
มีรูปร่างลักษณะเหมือนกันเป็นคู่
โฮโมโลกัสโครโมโซม
จัดทำแคริโอไทป์
เรียงตามขนาดของโครโมโซมและตำแหน่งของเซนโทรเมียร์
ส่วนประกอบ
ยูแคริโอต
ส่วนที่เป็น DNA
1 ใน 3 ของโครโมโซม
ส่วนที่เป็นโปรตีน
โปรตีนฮีสโตน
มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นกรดแอมิโนประจุบวก
โปรตีนนอนฮีสโตน
โพรแคริโอต (แบคทีเรีย)
มีจำนวนโครโมโซมชุดเดียว
มีโครโมโซมเป็นวงอยู่ในไซโทพลาซึม
DNA สายคู่ที่เป็นวง 1 โมเลกุลและไม่มีฮิสโตน
บางชนิดมีพลาสมิด
เป็น DNA สายคู่เป็นวงขนาดเล็กอยู่นอกโครโมโซม
การแบ่งเซลล์
แบ่งนิวเคลียส
ไมโทซิส
ไม่มีการลดจำนวนชุดโครโมโซม
เทโลเฟส
แอนาเฟส
เมทาเฟส
โพรเฟส
อินเตอร์เฟส
ไมโอซิส
ไมโอซิส I
ลดจำนวนโครโมโซมจาก 2n เหลือ n
เมทาเฟส I
แอนาเฟส I
โพรเฟส I
เทโลเฟส I
อินเตอร์เฟส I
ไมโอซิส II
โครมาทิดของแต่ละโครโมโซมแยกออกจากกัน
โพรเฟส II
เมทาเฟส II
แอนาเฟส II
เทโลเฟส II
แบ่งไซโทพลาซึม
เยื่อหุ้มเซลลืคอดกิ่วจาก 2 ข้าง เข้าใจกลางเซลล์
แบบ furrow type
พบในสัตว์
สร้างจากเซลล์เพลท
ก่อตัวบริเวณกึ่งกลางเซลล์ขยายไป 2 ข้างของเซลล์
แบบ cell plate type
พบในพืช
สารพันธุกรรม
องค์ประกอบทางเคมีของ DNA
เป็นกรดนิวคลีอิกชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นพอลิเมอร์
ประกอบด้วยมอโนเมอร์
นิวคลีโอไทด์
เชื่อมด้วยพันธะฟอสโฟไดเอสเตอร์
ไนโตรจีนัสเบส
พิวรีน
โครงสร้าง 2 วงต่อกัน
2 more items...
ไพริมิดีน
โครงสร้างเป็น 1 วง
3 more items...
หมู่ฟอสเฟต
น้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม
น้ำตาลดีออกซีไรโบส
น้ำตาลไรโบส
เออร์วิน ชาร์กาฟฟ์
นักชีวเคมีอเมริกัน
วิเคราะห์ปริมาณเบสของ DNA ในสิ่งมีชีวิตต่างๆ
โครงสร้าง DNA
โรซาลินด์ แฟรงคลิน และ เรย์มอน กอสลิง
ใช้เทคนิคเอกซ์เรย์ดิฟแฟรกชันและได้ภาพถ่ายที่ชัดเจน
พอลินิวคลีโอไทด์มีลักษณะเป็นเกลียว
เกลียวของพอลินิวคลีโอไทด์แต่ละรอบมีระยะห่างเท่ากัน
DNA ประกอบด้วยพอลินิวคลีโอไทด์ 2 สาย
มอริช วิลคินส์
ใช้เทคนิคเอกซ์เรย์ดิฟแฟรกชัน
ฉายรังสีเอกซ์ผ่านเส้นใย DNA
เจมส์ วอตสัน และ ฟรานซิส คริก
เสนอแบบจำลองโครงสร้างโมเลกุลของ DNA
ปริมาณเบสของ DNA
ภาพจากเทคนิคเอกซ์เรย์ดิฟแฟรกชันของเส้นใย DNA
การค้นพบสารพันธุกรรม
เฟรเดอริก กริฟฟิท
ฉีด Steptococcus pneumoniae เข้าไปในหนู
สายพันธุ์ R
มีผิวขรุขระไม่มีแคปซูลห่อหุ้มเซลล์
ไม่ก่อให้เกิดโรคปอดบวม
สายพันธุ์ S
มีผิวเรียบ มีแคปซูลห่อหุ้มเซลล์
ก่อให้เกิดโรคปอดบวม
ออสวอลด์ แอเวอรี คอลิน แมคลอยด์ และ แมคลิน แมคคาร์ที
ตรวจสอบว่า DNA RNA หรือโปรตีน เป็นสารที่เปลี่ยนพันธุกรรมของแบคทีเรียจากสายพันธุ์ R เป็นสายพันธุ์ S
สรุปว่า DNA = สารที่เปลี่ยนพันธุกรรมของแบคทีเรียจากสายพันธุ์ R เป็นแบคทีเรียสายพันธุ์ S
ฟรีดริช มีเชอร์
ศึกษาส่วนประกอบในนิวเคลียสของเซลล์เม็ดเลือดขาว
มีการพัฒนาสีฟุคชิน
ย้อมติด DNA เป็นสีแดง
สมบัติของสารพันธุกรรม
เปลี่ยนแปลงได้บ้าง
ก่อให้เกิดความหลากหลายทางพันธุกรรมและทำให้เกิดสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่
การจำลอง DNA
เกิดในระยะ S ของอินเตอร์เฟส
การต่อสาย DNA ให้ยาว
DNA Polymerase III นำดีออกซีไรโบนิวคลีโอไทด์ทั้ง 4 ชนิด
การกำจัดไพรเมอร์
อาศัยการทำงานของ DNA Polymerase I
การสร้างไพรเมอร์
พอลินิวคลีโอไทด์แต่ละสายทำหน้าที่เป็นแม่แบบสำหรับการสังเคราะห์ DNA โดยมีไพรเมอร์เป็นจุดเริ่มต้น
เอนไซม์ที่สร้างไพรเมอร์ ชื่อว่า ไพรเมส
การสร้างสาย DNA ให้สมบูรณ์
DNA Polymerase I จะนำนิวคลีโอไทด์มาเติมทีละหน่วยในบริเวณที่ RNA primer ถูกตัดออก
การเริ่มต้นการจำลอง DNA
มีโปรตีนมากระตุ้นให้ DNA คลายตัวที่ตำแหน่งจุดเริ่มต้นของการจำลองตัว
มีลักษณะโป่งออกเพื่อแยก DNA เกลียวคู่ออกจากกัน
การหยุดสร้างสาย DNA
โครโมโซมของโพรแคริโอตมีลักษณะเป็นวงเปิด
มีทิศทางในการจำลอง DNA เกิดขึ้น 2 ทิศทาง
จุดแยกทั้งสองเคลื่อนมาบรรจบถือเป็นการสิ้นสุดกระบวนการจำลอง DNA
ควบคุมให้เซลล์สังเคราะห์สารต่างๆ
แสดงลักษณะทางพันธุกรรมให้ปรากฏ
สิ่งสำคัญที่ใช้ในการสร้าง DNA
DNA polymerase
Deoxyribonucleotide
DNA แม่แบบ
ไพรเมอร์
แมกนีเซียมเป็นโคแฟกเตอร์ของเอนไซม์
DNA helicase
DNA gyrase
โปรตีน SSB
primase
DNA ligase
เพิ่มจำนวนตัวเองได้ โดยลักษณะเหมือนเดิม
สามารถถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากรุ่นพ่อแม่ไปยังรุ่นลูก
การควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม
ควมคุมลักษณะด้วย DNA
โปรตีนกับการแสดงออกลักษณะต่างๆ
โปรตีนแอกทินและไมโอซินช่วยในการยืดหดกล้ามเนื้อ
โปรตีนฮีโมโกบินช่วยในการลำเลียงออกซิเจน
โปรตีนที่เป็นเอนไซม์ช่วงเร่งปฏิกิริยาต่างๆ
เวอร์นอน เอ็ม อินแกรม
ศึกษาโครงสร้างของโปรตีนฮีโมโกบินในเม็ดเลือดแดง
ระหว่างฮีโมโกบินที่ปกติกับฮีโมโกบินที่เกิดโรคโลหิตจางชนิดซิกเคิลเซลล์
ความแตกต่างทางพันธุกรรม
DNA กับการสังเคราะห์โปรตีน
องค์ประกอบของเซลล์
นิวเคลียส
บริเวณที่ DNA บรรจุอยู่
ไรโบโซม
ออกาเนลล์ที่สังเคราะห์โปรตีน
ไซโทพลาสซึม
บริเวณที่ไรโบโซมอยู่
ฟรองซัว จาค็อป และจาค โมนอค
เสนอตัวกลางที่อยู่ระหว่าง DNA และไรโบโซมว่าเป็น RNA เรียกกว่า mRNA
เจราร์ด เฮอร์วิทซ์ และจอห์น เจ ฟอร์ธ
ศึกษาที่อยู่และหน้าที่ของ mRNA
ยืนยันการค้นพบชองจาค็อบและโมนอด
สังเคราะห์ mRNA
องค์ประกอบที่ใช้
Ribonucleotide อิสระ
DNA แม่แบบเพียงสายเดียว
เอนไซม์ RNA polymerase
ความสำคัญของ RNA polymerase
เชื่อมต่อ ribonucleotide เป็นสายยาว
สังเคราะห์ mRNA จาก 5' ไป 3' เสมอ
คลายเกลียว DNA
เกิดในนิวเคลียส
สังเคราะห์โปรตีน
เกิดในไซโทพลาสซึม
องค์ประกอบที่ใช้
tRNA เป็นตัวนำกรดอะมิโนมาต่อกันเป็นสายโปรตีนตามรหัสบน mRNA
ไรโมโซม เป็นตัวช่วยในกระบวนการสังเคราะห์โปรตีน
mRNA เป็นรหัสในการสร้างโปนตีน
มิวเทชัน
มิวเทชันระดับยีน
การแทนที่คู่เบส
มีการเปลี่ยนแปลงแทนที่คู่เบสในสายพอลินิวคลีโอไทด์
เปลี่ยนแปลงเฉพาะบริเวณรหัสพันธุกรรม
อาจมีหรือไม่มีผลต่อลักษณะของสิ่งมีชีวิต
เฟรมชิฟท์มิวเทชัน
การเพิ่มขึ้นหรือขาดหายของนิวคลีโอไทด์ที่หารด้วย 3 ไม่ลงตัว
รหัสพันธุกรรมเปลี่ยนแปลงจากเดิม ลำดับและชนิดของกรดแอมิโนลำดับถัดไปจะเปลี่ยนไปด้วย
มีผลต่อลักษณะของสิ่งมีชีวิต
มิวเทชันระดับโครโมโซม
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของโครโมโซม
Duplication
โครโมโซมบางส่วนเพิ่มขึ้น
Translocation
การเคลื่อนย้ายชิ้นส่วนโครโมโซม
Deletion
โครโมโซมบางส่วนขาดหาย
Inversion
บางส่วนของโครโมโซมที่ขาดไปกลับมาต่อแบบกลับทิศ
โรคที่เกิด
กลุ่มอาการคริดูชาต์
แขนข้างสั้นของโครโมโซมคู่ที่ 5
ศีรษะเล็ก ใบหน้ากลม ใบหูต่ำ เสียงเล็กแหลมคล้ายเสียงแมว
กลุ่มอาการดาวน์
โครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 โครโมโซม
ลิ้นโตคับปาก คอสั้นกว้าง นิ้วมือนิ้วเท้าสั้น ลายนิ้วมือผิดปกติ
กลุ่มอาการพาทัว
โครโมโซมคู่ที่ 13 เกินมา 1 โครโมโซม
ปากแหว่งเพดานโหว่ นิ้วมือนิ้วเท้ามักเกิน ตายหลังเกิดไม่กี่เดือน
ไคลน์เฟลเทอร์
โครโมโซม X เกินมา
เป็นชาย สูงกว่าชายปกติ มีเต้านมคล้ายผู้หญิง เป็นหมัน
เอกซ์วายวาย
โครโมโซม Y เกินมา 1 โครโมโซม
เป็นชาย สูงกว่าปกติ ไม่เป็นหมัน
เทอร์เนอร์
โครโมโซม X ขาดหายไป 1 โครโมโซม
เป็นหญิง หน้าแก่ มีแผ่นหนังคล้ายปีกจากต้นคอลงมาถึงหัวไหล่ เป็นหมัน
กลุ่มอาการเอ็ดเวิร์ด
โครโมโซมคู่ที่ 18 เกินมา 1 โครโมโซม
มือกำ ท้ายทอยโหนก ใบหูผิดรูปและเกาะต่ำ
มิวเทชันที่เกิดจากการกระตุ้น
มิวทาเจน
รังสี
สารเคมี
บางชนิดเป็นสิ่งก่อมะเร็ง
มิวเทชันที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
อัตราการเกิดต่ำมาก