Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเรียนการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) กรณีศึกษา…
การเรียนการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning)
กรณีศึกษา “นายถุงชา”
ยาที่ใช้เกี่ยวกับโรค : Schizophrenia :champagne:
Chlorpromazine
ข้อบ่งใช้
1.ใช้รักษาและควบคุมอาการโรคจิตชนิดคุ้มคลัง และโรคจิตเภท (mania and schizophrenia)
2.ใช้ลดอาการกระสับกระส่าย หวาดระแวงก่อนผ่าตัด (pre - operative anxiety)
3.รักษาพฤติกรรมกาวร้าวในเด็ก
กลุ่มยา Antipsychotic agent
Lorazepam
ข้อบ่งใช้ที่่ได้รับการรับรองจากอย.
1.บรรเทาอาการวติกกงัวลในระยะสั้น ๆ ความวติกกงัวลหรือความเครียดในชีวติประจำวันตามธรรมดาไม่จำ เป็นต้องให้การรักษาด้วยยาคลายกังวลอายุรแพทย์ควรประเมินประโยชน์ของยาในผู้ป่วยแต่ละรายเป็นครั้งเป็นคราว
2.โรคจิตประสาท ได้แก่ ความวติกกังวล, อารมณ์เศร้า, ย้ำคิดย้ำทำ, กลัวมากเกินไปโดยไม่มีเหตุผลหรือเป็นปฏิกิริยาของอาการข้างต้นร่วมกัน
3.อาการวิตกกังวลที่พบในภาวะวิกลจริตและอารมณ์เศร้าอย่างรุนแรงซึ่งเป็นข้อบ่งใช้ในการรักษาเสริม
4.ใช้เป็นยานำ ก่อนการผ่าตัด ในคืนก่อนการผ่าตัดและ/หรือ1-2 ชั่วโมงก่อนทำการผ่าตัด
อาการไม่พึงประสงค์
Dizziness, Depression, unsteadiness. Sleep disturbance, weakness, nausea, headache, agitation, hallucination
กลุ่มยา Benzodiazepine
Haloperidol/ Haloperidol decanoate
เป็นยาสงบประสาทที่ใช้ในผู้ป่วยหูแว่วๆ และประสาทหลอนใน โรคจิตเภทชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง (acute and chronic schizophrenia) หวาดระแวง (paranoid) ความคิดสับสนฉับพลัน, โรคพิษสุราเรื้อรัง ปรับตัวเข้ากับสังคมไม่ได้และบุคคลิกภาพอื่น ๆ
อาการไม่พึงประสงค์ หัวใจเต้น เร็วใจสั่น หลงลืม กระสับกระส่าย อ่อนเพลียเลือดออกผิดปกติ
กลุ่มยา Antipsychotic agent
Depakine
ข้อบ่งใช้
-โรคลมชัก(epilepsy) -ใช้ได้ทั้งกรณีให้ยาชนิดเดียวหรือให้ร่วมกับยากันชักตัวอื่นๆ
-ใช้รักษาโรคลมชักแบบทั่วทั้งสมอง (generalized epilepsy):
-ใช้รักษาโรคลมชักแบบชัดเฉพาะส่วน (partial epilepsy):
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
ระบบประสาทส่วนกลาง สั่น เวียนศีรษะ ตากระตุกกล้ามเนื้อเสียการทรงตัว stupor การเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม
ผิวหนัง ผมร่วง (6%-24%)
ระบบทางเดินอาหารคลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดท้อง ท้องอืด (dyspepsia) เบื่ออาหาร
ระบบเลือด Trombocytopenia (1-24%)
ระบบประสาทและกล้ามเนื้อ สั่น (1-57%), อ่อนแรง (6-27%)
ตา มองเห็นภาพซ้อน (diplopia) (พบมากกว่า 16%), ตามัว/มองภาพไม่ชัด (8-12%)
อื่น ๆ ติดเชื้อ, flu like symptom
กลุ่มยา anticonvulsant
Benzhexol
ข้อบ่งใช้ทีได้รับการรับรองจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ใช้ควบคุมอาการ extrapyramidal disorder จากยา Neuroleptic drugs ในโรค Parkinsonism
จะไม่ให้ยาในรูปแบบนี้ในการเริ่มต้นของการรักษา
ให้ร่วมกับยาอื่นในการรักษาโรค Parkinson (Postencdphalitic, arteiosclerotic และ idiopathic)
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
ผู้ป่วยทีได้รับยาในขนาดสูงหรือไวต่อยา จะเกิดอาการตื่นเต้น สับสน อ่อนเพลีย และไม่สามารถเคลือนไหวได้ ถ้าผู้ป่วยมีอาการรุนแรงมาก ควรหยุดยา และถ้าต้องให้ยาฉีดอีกต้องให้ยาในขนาดต่ำก่อน
คลื่นไส้ อาเจียน ปากแห้ง ท้องผูก
รูม่านตาขยาย สายตาพร่ามัว ความดันภายในลูกตาเพิ่ม
กลุ่มยา Antipakinson’s agent
Clozapine
ข้อบ่งใช้
รักษา schizophrenia มีข้อบ่งใช้เฉพาะในรายที่ป่วยรุนแรง และใช้ยารักษาอาการทางจิตตัวอื่นไม่ได้ผล
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา อาการที่พบได้บ่อย
ผลต่อหัวใจและหลอดเลือด โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาการหัวใจเต้นเร็ว และเต้นไม่สม่ำเสมอ (tachycardia) ความดันเลือดต่ำขณะยืน (orthostatic hypotension) มีอาการมึนงง หรือ เป็นลม มีไข้
กลุ่มยา antipsychotic
การรักษาผลข้างเคียงของยารักษาโรคจิต
acute dystonia
มักเกิดหลังได้รับยารักษาโรคจิตไม่กี่ชั่วโมง หรือภายใน 1 สัปดาห์แรก
มีอาการกล้ามเนื้อบิดเกร็ง ลิ้นแข็ง พูดหรือ กลืนลำบาก ตาเหลือก คอบิด หรือบางราย มีหลังแอ่น
รายที่รุนแรงอาจมี laryngospasm
มีอาการเป็นๆ หายๆ เป็นพักๆ
Akathisia
-มักเกิดในช่วง 2-3 สัปดาห์แรกหลังได้รับยารักษาโรคจิต
-เป็นความรู้สึกกระวนกระวายในใจจนผู้ป่วยอยู่นิ่งไม่ได้นั่งไม่ติด ต้องขยับแขนขา หรือเดินไปมตลอดเวลา
parkinsonism
มักเกิดในช่วง 4 สัปดาห์แรกของการรักษา หรือขณะปรับขนาดยาขึ้น และสัมพันธ์กับ ขนาดยาที่ใช้
เป็นกลุ่มอาการที่มีลักษณะกล้ามเนื้อเกร็ง แข็ง มี cogwheel rigidity อาการสั่น เคลื่อนไหวเชื่องช้า เดินไม่แกว่งแขน
tardive dyskinesia
มักเกิดในผู้ป่วยที่ได้รับยารักษาโรคจิตมานาน
มีลักษณะที่สำคัญเรียกว่า buccolinguomasticatory triad ได้แก่ อาการดูด หรือขมุบขมิบปาก อาการขยับหรือการ เคลื่อนไหวขากรรไกร (lateral jaw movement) และมีลิ้นม้วนไปมาในปาก หรือเอาลิ้นดุนแก้ม
หากให้อ้าปากผู้ป่วยอาจแลบลิ้นออกมาเอง
อาจมีอาการขยับนิ้ว บีบมือ คอบิดเอียง
ปัจจัยภายนอกที่ส่งผลต่อโรคจิตเภท
ปัจจัยผลกระทบต่อสุขภาพจิตของบุคคล :silhouette: (นายถุงชา)
ปัจจัยด้านครอบครัว :red_flag:
พื้นฐานการเลี้ยงดูของครอบครัวตั้งแต่วัยเด็ก
การดูแลเอาใจใส่ต่อผู้ป่วย การใช้อารมณ์ในการสื่อสาร
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ :red_flag:
การแข่งขันฐานะทางสังคม อาชีพ
รายได้ไม่เพียงพอต่อรายจ่าย ภาวะหนี้สิน
ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมด้านกายภาพและสังคม :red_flag:
ความเจริญด้านเทคโนโลยี การคมนาคม
สังคมเมืองทำให้สภาพอากาศไม่ปลอดโปร่งส่งผลต่อสุขภาพกาย
ปัจจัยที่เกี่ยวกับตัวบุคคล :red_flag:
ค่านิยมต่อตนเอง ความภูมิใจในตนเอง
ภาพลักษณ์ต่อตนเอง การรับรู้ตัวเองเชิงลบ
ทัศนคติต่อตนเอง ประสบการณ์ในวัยเด็ก
🔎
แนวทางการวินิจฉัยแยกโรคทางจิตเวช DSM-IV
การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยจิตเภท
การมีส่วนร่วมของครอบครัว
ทักษะที่จำเป็นในการดูแลบุคคลที่เจ็บป่วยทางจิต
ทักษะการประเมินสังเกตอาการ
ทักษะการเตือน
. ทักษะการแนะนำ
ทักษะการบอกสิ่งที่เป็นจริง
ทักษะการทำกิจกรรมแทน
ทักษะการการสอน
ทักษะการถอยห่าง
ทักษะการต่อรอง
ทักษะการไกล่เกลี่ย
ทักษะการจัดการเรื่องยา
ทักษะการจัดการกับสิ่งแวดล้อม
การดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภทโดยญาติ
ผู้ป่วยและญาติจึงควรติดต่อรับยาที่โรงพยาบาลอย่างสม่ำเสมอ
ญาติควรดูแลให้ผู้ป่วยกินยาอย่างต่อเนื่อง
ญาติควรกระตุ้นและให้กำลังใจผู้ป่วยให้ทำงานตามกำลังและความสามารถที่มีอยู่เพื่อฟื้นฟูความสามารถของผู้ป่วย
ควรปฏิบัติต่อผู้ป่วยเหมือนคนปกติทั่วไปโดยเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้พูดคุย ระบายปัญหา เพื่อผู้ป่วยและญาติจะได้เข้าใจและไว้วางใจซึ่งกันและกัน
สนับสนุนและให้กำลังใจผู้ป่วยให้สามารถแก้ไขปัญหาด้วยตนเองโดยการรับฟังปัญหาของผู้ป่วย
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้มีโอกาสเข้าสังคมกับคนทั่วไป
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้ป่วยทางจิต
การยอมรับ ไม่รังเกียจ
การให้โอกาสในการใช้ทักษะที่ได้รับการพัฒนา
กระตุ้นให้ร่วมกิจกรรมชุมชน
มอบหมายงาน
บ้าน
จัดหางานที่เหมาะกับศักยภาพ
ช่วยฝึกอาชีพ
รณรงค์ให้ครอบครัว ชุมชนยอมรับผู้บกพร่องทางจิต
การมีส่วนร่วมของชุมชน ส่งผลให้ผู้ป่วยกินยาต่อเนื่อง มีการดำเนินชีวิตประจำวัน ทำกิจกรรมต่างๆได้ด้วยตนเอง ควบคุมอารมณ์ได้ดี
ปัญหาและการขาดการดูแลจากครอบครัวและชุมชนในผู้ป่วยจิตเภท
ขาดสิทและโอกาส : ผู้ป่วยใช้ชีวิตอย่างปิดบัง ไม่เป็นที่ยอมรับของสังคมคม ทำให้ไม่ได้รับสิทธิการช่วยเหลือ
ขาดผู้ดูแลหรือครอบครัว
ผู้ป่วยอาศัยอยู่กับผู้สูงอายุ ทำให้การทานยาหรือการไปโรงพยาบาลได้รับการรักษาไม่เต็มที่ ขาดหายจนส่งผลให้มีอาการกำเริบได้
ผู้ป่วยอาศัยอยู่บ้านเพียงลำพัง เนื่องจากครอบครัวไปทำงานนอกบ้าน เป็นอีก1สาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยไม่ได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด
ปัญหาด้านเศรษฐกิจ : บางครอบครัวต้องออกไปรับจ้างหรือขายของไม่มีเวลาในการดูแลผู้ป่วยจิตเภท และในบางครั้งการขาดเงินในการรักษาหรือเดินทางไปโรงพยาบาล
การถูกตีตาจากสังคม : ภาพลักษณ์ของผู้ป่วยจิตเภททำให้ถูกตีตาและมองว่าเป็นคนไร้ความสามารถ ถูกมองไม่เหมือนคนปกติเรื่องบทบาทและสถานภาพทางสังคม
การวางแผนการพยาบาลแบบองค์รวม
:<3:บทบาทพยาบาลจิตเวช
สร้างมุมมองเชิงบวกให้กับผู้ดูแลครอบครัวและชุมชนโดยการจัดการกับความเชื่อต่างๆที่ไม่ถูกต้อง
เป็นโรคที่สามารถรักษาให้อาการทุเลาได้ ควบคุมอาการได้ ด้วยการใช้ยา
ไม่ได้มีความน่ากลัวดังเช่นข่าวสารทางสื่อสังคม
ไม่ใช่โรคที่เกิดจากการเป็นบาป ไม่ควรแสดง ท่าทีรังเกียจ
ให้ความรู้ความเข้าใจกับผู้ดูแลครอบครัวและชุมชน
บทบาทพยาบาลเปรียบเสมือนครู (The nurse as a teacher)
ให้ความรู้ถึงสาเหตุของการเกิดโรคให้ผู้ดูแลครอบครัวและชุมชน
บทบาทพยาบาลเปรียบเสมือนผู้ปกครอง ( The Nurse as a parent Surrogate) พยาบาลต้องสร้างความไว้วางใจสามารถช่วยเหลือผู้ป่วย
ให้ความรู้กับผู้ดูแลครอบครัวและชุมชนถึงการสังเกตอาการแสดงของโรคจิตเภท
กลุ่มอาการทางบวก คือ พฤติกรรมที่แสดงออกในด้านความผิดปกติของความคิด
กลุ่มอาการด้านลบ คือ การแสดงออกถึงพฤติกรรมที่น้อยกว่าปกติ
ให้ความรู้เรื่องการรักษากับผู้ดูแล ครอบครัว และชุมชน
:lock: การรักษาด้วยยา
บทบาทพยาบาลทำหน้าที่ทางเทคนิค (The technical nursing role)
:lock: การรักษาด้วยไฟฟ้า
:lock: การรักษาทางจิตสังคม (Psychosocial Treatment)
บทบาท เสมือนผู้บำบัด (The nurse as a therapist)
จิตบำบัด (Psychotherapy) ช่วยให้ผู้ป่วยบรรเทาความทุกข์
พฤติกรรมบำบัด ( Behavior therapy) ช่วยเหลือผู้ป่วยในการจัดการกับพฤติกรรมไม่เหมาะสมให้กับตนเอง
กิจกรรมพยาบาลเพื่อการบำบัด ( activity therapy)
นันทนาการบำบัด ( Recreational therapy)
อาชีวบําบัด ( Occupational therapy)
ศิลปะบําบัด ( Arts therapy)
การอ่านหนังสือ ( Reading)
กิจกรรมงานบ้าน ( domestic activity)
:lock:การบำบัดครอบครัว ( Family intervention)
บทบาทพยาบาลในการเป็นที่ปรึกษา (The nurse as a counselor)
:checkered_flag:การฟื้นฟูสมรรถภาพ ด้วยการส่งเสริมให้ผู้ป่วยรับประทานยาตามเกณฑ์การรักษา การป้องกันการกลับเป็นซ้ำ