Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Finite and Non-finite verb, image, image, image, image - Coggle Diagram
Finite and Non-finite verb
Finite verb
Finite verb (กริยาแท้)คือ กริยาที่ทำหน้าที่แสดงอาการหรือการกระทำของประธานในประโยคจะมีกริยาเพียงตัวเดียวที่เป็นกริยาแท้ในประโยค เป็นกริยาของประธานในประโยค กริยาที่เป็น finite verb จะสามารถผันรูปได้ตาม subject, Tense, mood และ voice
ผันตาม Tense
-I am not playing game, but I am doing homework. (ผันเป็น verb ที่เติม ing ตาม present continuous tense)
ผันตาม subject
-She goes to work by car every day. (ประธานเอกพจน์)
ผันตาม voice
Sarah told me her secret. (active voice)
ผันตาม mood
I recommended that he see a doctor. (subjunctive mood) **ไม่ใช่ he sees
Non-finite verb
Non-finite verb (กริยาไม่แท้) คือ กริยาที่จะไม่ผันตาม tense, subject, mood หรือ voice และจะทำหน้าที่อย่างอื่นในประโยค จะไม่ทำหน้าที่เป็นกริยา กริยาไม่แท้ในภาษาอังกฤษจะมี 3 ประเภท คือ
gerund
กริยาที่เติม ing (Ving) ทำหน้าที่เป็นคำนามในประโยค -Smoking isn’t allowed here.
infinitives
ในรูปของ infinitives จะประกอบด้วย “to + infinitive”
(infinitive with to)
เช่น to be, to do, to walk, to wait, to come เป็นต้นรูปกริยาที่ใช้สำหรับ infinitive จะเป็นรูปกริยาช่องที่ 1 (V1) ที่ยังไม่ผันรูปไปตาม tense(กาล) และ/หรือ ประธาน(subject) ไม่มีการเติม s หรือ es
infinitive without to
(ไม่ต้องมีคำว่า “to”) ได้ด้วย เช่น be, do, walk, wait, come เป็นต้นกริยาไม่แท้(Non-finite Verbs) ในรูปของ infinitive ทำหน้าที่เป็นได้ทั้งคำนาม(noun), คำคุณศัพท์(adjective), และคำกริยาวิเศษณ์(adverb)
participle
Past participle
ประกอบด้วย verb เติม -d หรือ -ed (verb + ‘-d’/’-ed’) ตัวอย่างประโยคเช่น Tired, he dropped to the floor. (เพราะเหนื่อยเขาจึงหย่อนตัวลงกับพื้น)
Perfect participle
ประกอบด้วย having กับ verb เติม -d หรือ -ed หรือ -en (having + ‘-d’/’-ed’/’-en’) ตัวอย่างประโยคเช่น Having eaten her dinner, Tanggwa went to sleep. (หลังการทานอาหารเย็นแตงกวาก็ไปนอน)
Present participle
ประกอบด้วย verb เติม -ing (verb + ‘-ing’) ตัวอย่างประโยคเช่น Walking across the road, Somchai was hit by a car. (เพราะเดินข้ามถนน สมชายจึงถูกรถชน)
Gerunds
สามารถใช้ทำหน้าที่เป็นได้ทั้งประธาน(Subject) กรรม(Object) และ ส่วนเสริม(Complement) ของประโยค (ดูเพิ่มเติมเรือง Gerund คืออะไร? การใช้ Gerund และตัวอย่างประโยค)
Gerunds จะมีลักษณะเป็นคำนามที่แสดงออกถึงอาการกริยาไปด้วย(แต่ไม่ได้ทำหน้าที่เป็นกริยา) จึงถูกเรียกว่าเป็น กริยานาม หรือ อาการนาม (Verbal Noun)