Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 4 ทักษะทางภาษาเพื่อการสื่อสาร, a, Business Characters Scene,…
หน่วยที่ 4
ทักษะทางภาษาเพื่อการสื่อสาร
ทักษะการฟังเชิงรุก
ความหมาย
การฟังเป็นกระบวนการอย่างหนึ่งของการรับสาร (Inputting) ซึ่งนับว่า
เป็นทักษะที่สำคัญที่สุด
กระบวนการฟัง
การมีสมาธิต่อสิ่งที่เราได้ยินนั้น (Concentration)
การตอบสนอง (Reaction)
การได้ยินเสียงที่มากระทบโสตประสาท (Hearing)
การตีความสิ่งที่ได้ยิน (Interpretation)
การเข้าใจสิ่งที่ได้ยิน (Comprehension)
จุดหมาย
การฟังเพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ
การฟังเพื่อสังคม
ทักษะการฟังเชิงรุก
การฟังที่ต้องใใช้ความอดทน
การฟังที่ควรมีการทวนความเข้าใจให้ตรงกัน
การฟังด้วยใจ ไม่ใช้แค่หูฟังอย่างเดียว
การฟังที่ผู้ฟังต้องอยู่กับปัจจุบัน
ประโยชน์ของการฟัง
การฟังที่ดีช่วยพัฒนาสมรรถภาพของการใช้ทักษะภาษาอื่น ๆ
และจุดมุ่งหมายของผู้พูด
สามารถนำความรู้ แง่คิดต่าง ๆ ไปใช้ โดยตัวผู้ฟังเอง
ได้รับผลดีจากการปฏิบัติและสังคมได้ประโยชน์ทางอ้อม
การฟังที่ดีเป็นพฤติกรรมของผู้มีมารยาทในการเข้าสังคม ในวงสนทนา
หรือในสถานที่และโอกาสต่าง ๆ ผู้ฟังที่ดีควรให้เกียรติผู้พูด
ทักษะการพูดเชิงวิชาการ
ความหมาย
การพูดมีความสำคัญต่อผู้ฟังหรือผู้เกี่ยวข้อง การได้รับรู้หรือได้รับฟัง
ข้อมูลที่ดีและมีประโยชน
การพูดมีความสำคัญต่อการประกอบอาชีพ เพราะการพูดเป็นเครื่องมือ
สำหรับประกอบอาชีพต่าง ๆ
การพูดมีความสำคัญต่อตนเอง เพราะมนุษย์จำเป็นต้องมีการคบหา
สมาคมซึ่งกันและกัน ต้องมีการเรียนรู้ในสิ่งต่าง ๆ
การพูดมีความสำคัญต่อสังคม สังคมจะอยู่ได้ก็เพราะสมาชิกของ
สังคมมีความเข้าใจซึ่งกันและกัน
การพูดมีความสำคัญต่อประเทศชาติ ในการบริหารประเทศ การ
แถลงนโยบายของรัฐบาลก็ดี การอภิปรายในรัฐสภา
องค์ประกอบของการพูด
ผู้ฟังคือผู้รับสาร (Audience)
เนื้อหาสาร (Message)
ผู้พูด (Speaker)
เครื่องมือในการสื่อความหมาย (Communication)
จุดมุ่งหมายของการพูด
เพื่อเกลี้ยกล่อมหรือจูงใจ
เพื่อความบันเทิง
เพื่อสอนหรือแจ้งข่าวสารให้ทราบ
เพื่อกระตุ้นหรือสร้างความประทับใจ
ทักษะการพูดนำเสนอเชิงวิชาการ
ขั้นตอนการนำเสนอ
การวางแผนการน าเสนอ
การนำเสนอ
การศึกษาข้อมูล
การประเมิน
สื่อในการนำเสนอ
2) วีดีทัศน์/ภาพยนตร์(vidios/movies)
3) แผ่นใส (Transparencies)
1) พลิปชาร์ต(flip chart) ซ
4) Microsoft Office PowerPoint
ทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์
ความหมาย
การอ่านเป็นทักษะการได้รับรู้และสัมผัสได้ด้วยตัวเองโดยผู้อ่านต้องแปลความหมายจากตัวอักษร สัญลักษณ์ที่ปรากฎแกสายตาให้ออกมาเป็นความรู้ ความคิด
ทักษะการอ่าน
การเข้าใจความหมายของสาร
การมีปฏิกิริยาต่อสาร
การมองเห็นตัวอักษร สัญลักษณ์ หรือข้อความชัดเจนแล้วเข้าใจ
การบูรณาการความคิด
จุดมุ่งหมายของการอ่าน
อ่านเพื่อหาคำตอบ
อ่านเพื่อปฏิบัติตาม
อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน
อ่านเพื่อความรู้
ประโยชน์ของการอ่าน
ทางด้านเศรษฐกิจ การอ่านนอกจากจะส่งผลต่ออาชีพและเศรษฐกิจของ
ตนให้ดีขึ้น
ด้านประชาธิปไตย การอ่านเป็นปัจจัยพื้นฐานในการน าเสนอความคิด
แลกเปลี่ยนความคิด ความรู้
ก่อให้เกิดความรอบรู้
การอ่านเชิงวิเคราะห์
ประโยชน์
ทำให้สามารถเลือกได้ว่าอะไรควรอ่าน หรืออะไรอ่านผ่าน ๆ หรืออ่านอย่างตั้งใจอย่างละเอียด
ช่วยให้ผู้อ่านเพิ่มประสิทธิภาพการอ่านให้แก่ตนเอง
ช่วยให้ผู้อ่านเห็นภาพรวมทั้งหมดของงานเขียนแต่ละชิ้น
ช่วยให้ผู้อ่านน าเอาวิธีการและผลจากการอ่านมาปรับใช้ในการ
ด าเนินชีวิต หรือใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตได้
หลักการ
แยกแยะส่วนที่เป็นข้อเท็จจริงออกจากข้อคิดเห็นในงานเขียนต่างๆ
2.2 ข้อคิดเห็นในงานเขียน
2.1 ข้อเท็จจริง
แยกแยะส่วนที่เป็นสาระสำคัญและส่วนขยายความ
1.1 สาระสำคัญ
1.2 ขยายความ
ความหมาย
อ่านอย่างละเอียดให้ได้ครบถ้วนแล้วจึงแยกแยะออกได้ว่าส่วนต่าง ๆ นั้นมี
ความหมาย และความสำคัญอย่างไรบ้าง
การจำแนกเรื่องออกเป็นส่วนๆ ให้เห็นว่าใครท าอะไร ที่ไหน เมื่อไร
อย่างไร
ขั้นตอนของการอ่านเชิงวิเคราะห
ขั้นที่ 2 วิเคราะห์
ั้นที่ 3 สรุป
ขั้นที่ 1 รวบรวมข้อมูล
ขั้นที่ 4 ประยุกต์และน ำไปใช้
ทักษะการเขียนเชิงสร้างสรรค์
ความหมาย
การที่มนุษย์พยายามถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้ ความรู้สึกนึกคิดของตนเอง เพื่อให้ผู้อื่นได้รับรู้ โดยอาศัยสัญลักษณ์ที่เรียกว่าตัวหนังสือตัวอักษรเป็นสื่อกลางในการทำความเข้าใจร่วมกัน
ลักษณะของงานเขียนที่ดี
มีเอกภาพ
มีเนื้อหาดีและรายละเอียดเด่นชัด
มีความกระจ่าง
มีจินตนาการที่สอดคล้องกับเนื้อหา
มีสัมพันธภาพ
ใช้ภาษาถูกต้องเหมาะสม
ีรูปแบบการเขียนเหมาะสมกับจุดมุ่งหมายและเนื้อหา
เรื่องราวชวนติดตาม
มีจุดมุ่งหมายในการเขียนที่ชัดเจน
ทักษะการเขียน
รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และยังเป็นการพัฒนาบุคลิกภาพ
ของผู้เขียน
ช่วยให้มีความรู้ ความซาบซึ้งในวรรณคดีที่มีคุณค่าต่าง ๆ
ช่วยให้รู้จักวงศัพท์มากขึ้น สามารถเลือกใช้ถ้อยคำ สำนวน วลี
ฝึกทักษะและการพัฒนาการใช้ภาษาในการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด
เป็นงานที่สร้างความสุขสนุกสนาน
การพัฒนาทักษะการเขียน
1) ย่อหน้าแต่ละย่อหน้าบรรจุความคิดหลักหรือความคิดส าคัญที่ผู้เขียน
ต้องการจะเสนอ ท าให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจเรื่องได้ง่าย เป็นต้น
2) ย่อหน้าท าให้ผู้อ่านมีช่วงโอกาสคิดพิจารณาเนื้อหาในย่อหน้าที่
มาก่อน ช่วยให้ท าความเข้าใจได้ง่ายและต่อเนื่อง