Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรม, Concepto De Informe…
หน่วยที่ 3
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรม
ความหมายภาษา
ภาษาในแง่ที่เป็นเครื่องมือที่มนุษย์สร้างขึ้นด้วยสติปัญญา
เพื่อใช้สื่อสารให้เกิดความเข้าใจกัน
ใช้ในการถ่ายทอดความคิดความรู้
ใช้ในการติดต่อค้าขายและในงานอาชีพต่าง ๆ
ภาษาเป็นเครื่องบันทึกวัฒนธรรม
ใช้เป็นเครื่องมือแสดงความคิดและเหตุผล
ใช้เป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้และความเพลิดเพลิน
1.ใช้เป็นเครื่องมือติดต่อสื่อสารระหว่างกัน
ใช้ภาษาเป็นตัวบันทึกเหตุการณ์ เรื่องราว และความคิดความเชื่อต่าง ๆ ของสังคมเอาไว้
ไม้ได้บันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร
เพลงกล่อมเด็ก
นิทานชาวบ้าน
เพลงพื้นบ้าน
บันทึกไว้ เป็นลายลักษณ์อักษร
จดหมายเหตุ
วรรณคดี
ตำนาน
พงศาวดาร
วัฒนธรรมในการใช้ภาษาไทย
ใช้ภาษาเพื่อสั่งสอน
ใช้ภาษาเพื่อสร้างสรรค์
ใช้ภาษาเพื่อสื่อสาร
1.1 ใช้ภาษาได้ถูกต้องตามแบบแผนของภาษาไทย
1.2 ใช้ภาษาเสียงได้ถูกต้องชัดเจนเพื่อผลสัมฤทธิ์ในการสื่อสาร
1.3 ใช้ภาษาสุภาพไม่ใช้คำพูดหยาบคาย
1.4 ใช้ถ้อยคำที่สื่อความหมายได้แจ่มแจ้งชัดเจน
1.5 ใช้ภาษาที่ช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน
1.6 ใช้ภาษาให้ถูกต้องตามกาลเทศะ และเหมาะสมกับฐานะของบุคคล
1.7 ใช้ภาษาด้วยถ้อยคำที่เลือกเฟ้นเป็นพิเศษ ให้เหมาะกับโอกาสและ พิธีการต่าง ๆ
1.8 ใช้สำนวนให้ถูกต้องเหมาะสม คนไทยนิยมใช้ภาษาที่เป็นคติเตือนใจให้ข้อคิดด้วยถ้อยคำที่มีชั้นเชิง
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรม
ภาษามีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับวัฒนธรรม ภาษาเป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมเราเรียกว่า “วัฒนธรรมสัญลักษณ์”
2.. ภาษาเป็นเครื่องชี้ให้เห็นถึงความเจริญก้าวหน้า หรือความล้าหลังของวัฒนธรรม ชาติใดมีภาษาพูดเพียงอย่างเดียว ไม่มีภาษาเขียนใช้
ภาษาแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการทางด้านวัฒนธรรมของแต่ละสังคมมาตามลำดับในระยะแรกมนุษย์รู้จักใช้เพียงอักษรภาพ หรือเครื่องหมาย
ภาษาเป็นเครื่องสะท้อนให้เห็นวิถีชีวิตของคนในชาติ ไม่ว่าจะเป็นสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของชาวบ้าน ความเชื่อ ความคิดของคนในชาติ
ภาษาเป็นเครื่องถ่ายทอดวัฒนธรรมไว้มิให้สูญหาย วัฒนธรรมบางอย่างได้จารึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรในวรรณคดี จดหมายเหตุ ตำนาน พงศาวดาร
ภาษาเป็นเครื่องแสดงระดับของชนชั้นหรือความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสังคม
ภาษาสะท้อนให้เห็นที่มาหรือประวัติของวัฒนธรรมในสังคม
วัฒนธรรมในการใช้ภาษาที่ต้องคำนึงถึง
ภาษาไทยมีการใช้ภาษาโดยคำนึงถึงกาลเทศะและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
การใช้ภาษาต้องมีวิจารณญาณและมีความรอบคอบ
ภาษาไทยมีระเบียบการใช้ถ้อยคำให้เหมาะสมกับฐานะของบุคคล
การใช้ภาษาต้องมีศิลปะ