Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปรัชญาลัทธิอัตตภาวะนิยม (Existentialism) เชื่อมโยงกับปรัชญาการศึกษา -…
ปรัชญาลัทธิอัตตภาวะนิยม (Existentialism) เชื่อมโยงกับปรัชญาการศึกษา
นักปรัชญาอัตตภาวะนิยม
คาร์ล แจสเปอร์ (Karl Jusper)
เป็นจิตแพทย์และเป็นศาสตราจารย์ด้านปรัชญา
การเอาชนะความตาย ความทุกข์ ความยุ่งยากและความรู้สึกผิดคือการเป็นตัวของตัวเอง
กาเบรียล มาร์เชล (Gabriel Marchel)
ทำงานโดยใช้ตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมจากประสบการณ์
ผลงานมักมีลักษณะเป็นเทวนิยมหรือคริสเตียน
ฌอง ปอล ซาร์ตร์(Jean-Paul Sartre)
เป็นนักเขียนนวนิยาย บทละคร
ทุกคนนั้นอิสระและรับผิดชอบในการกระทำของตน
ปอล ทิลลิช (Paul Tillich)
ความโดดเดี่ยวคือการแสดงออกถึงความเจ็บปวดของการดำรงอยู่
ความสันโดษคือการแสดงออกถึงชัยชนะของการอยู่ลำพัง
นักศาสนศาสตร์ที่ทรงอิทธิพลที่สุดแห่งศตวรรษที่ 20
มาร์ติน ไฮเอดเกอร์ (Martin Heidegger)
ไฮเด็กเกอร์ได้ชี้ให้เห็นว่า คน-man ต่างจาก สิ่งของ-things
การตระหนักรู้ถึงการมีชีวิตอยู่ เรียกว่าเดซีน
(การมีเอกภาพสูงสุดโดยการสังเกตตัวเอง,ผู้อื่นและโลก)
การวิเคราะห์อัตถิภาวะของมนุษย์(Human existence) ของท่านนั้น
เป็นการริเริ่มขบวนการอัตถิภาวะนิยมในช่วงศตวรรษที่ 20
เห็นว่าปรัชญาตะวันตกเดินผิดเส้นทางครั้งแรกเริ่มตั้งแต่ช่วงเวลาของเพลโต
มาร์ติน บูเบอร์ (Martin Buber)
สนใจในด้านความสัมพันธ์ที่บุคคลมีต่อผู้อื่น
เสนอว่าความสัมพันธ์ระหว่างครูและนักเรียนควรเป็นความสัมพันธ์แบบ I -Thou
คิร์เคกอร์ด
อัตตภาวะเป็นพื้นฐานของความรู้
อัตตภาวะเป็นพื้นฐานของเทววิทยา
อัตตภาวะเป็นพื้นฐานของจริยธรรม
อัตตภาวะเป็นจุดหมายของการสร้างโลก
ลัทธิอัตตภาวะนิยม
ความสำคัญ
ลัทธิที่เชื่อว่าการศึกษาหาสารัตถะ ทำให้ผู้คิดออกจากความเป็นจริง
มีอิทธิพลอย่างกว้างขวงในวรรณกรรมโลก
หลักการและแนวคิด
ตระหนักในปัญหาด้วยตนเอง
ตัดสินใจยึดถือคำตอบด้วยการตัดสินใจของตนเอง
ไม่มีระบบปรัชญาที่ตายตัวหรือแน่นอน
การแก้ปัยหามีพื้นฐานอยู่บนความจริง
ความหมาย
อัตตภาวะนิยม มาจากภาษามคธ 2 คำ คือ อัต = ความเป็นอยู่ และ ภาวะ = สภาพความเป็นอยู่
Existence มาจากภาษาลาติน ว่า Existentia คือ Ex = จาก Stare = ยีน รวมเป็น ความมีอยู่
ความเป็นมา
ก่อตั้งช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศษ
การศึกษาเป็นส่วนในการทำลายความเป็นมนุษย์ด้วยกรอบของสังคมที่จำกัดเสรีภาพของมนุษย์
เกิดจากความรู้สึกสูญเสียตัวเองไปจากระบบสังคมปัจจุบัน
โรงเรียนที่จัดการศึกษาตามแนวปรัชญาอัตตภาวะนิยม
โรงเรียนซัมเมอร์ฮิลล์
ความเป็นมา
ก่อตั้งขึ้นในปีพ.ศ.2464 เมืองชัพฟอร์ก ประเทศอังกฤษ
โรงเรียนประจำแบบสหศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
แนวการจัดการศึกษา
เป็นหลักสูตรเตรียมเข้ามหาวิทยาลัยโดยเน้นหนักในด้านศิลปะและงานฝีมือ
วิธีการสอนและหลักสูตรมีความยืดหยุ่น
นักเรียนและเจ้าหน้าที่แต่ละคนมีส่วนร่วมในเรื่องนโยบาย
โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก
(ก่อตั้งพ.ศ.2521)
ความเป็นมา
โรงเรียนหมู่บ้านเด็กตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2522
ในท่ามกลางหุบเขาริมบึงแม่น้ำแควน้อย จ.กาญจนบุรี
ต่อมาย้านมาตั้งที่ ถ.ลาดหญ้า -ศรีสวัสดิ์ ต.วังด้ง
อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
แบ่งระดับการศึกษาออกเป็น 2 แนว
ระบบหนึ่งเรียกกันว่าการศึกษาทางเลือก
เน้นให้นักเรียนค้นหาตนเอง
ให้เสรีภาพทางความคิดและการแสดงออก
ใช้หลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ คือในระดับชั้นประถม 1-6
เรียนต่อที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน
ฝึกอาชีพ
รูปแบบการจัดการศึกษา
เรียนรู้สิ่งต่างๆจากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ศึกษาจากเรื่องปัจจุบันไปหาอดีต
เชื่อมโยงความรู้ ความดี และความจริงเข้าด้วยกัน
องค์ประกอบการจัดการศึกษาตามปรัชญาอัตตภาวะนิยม
ผู้เรียน
ผู้เรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติเอง
ผู้เรียนสำคัญที่สุดในการจัดการศึกษา
ผู้เรียนมีความคิด ความสามารถในตนเอง มีเสรีภาพอย่างแท้จริง
ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียน
ผู้เรียนมีเสรีภาพในการเลือกเรียนตามความถนัดหรือความสนใจของตนเอง
โรงเรียน
จัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้เรียนเกิดความพอใจที่จะเรียนสร้างคนให้เป็นตัวของตัวเอง
สร้างบรรยากาศแห่งเสรีภาพทั้งในและนอกห้องเรียน
ครู
มีบทบาทคล้ายกับปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ครูจะให้ความสำคัญแก่ผู้เรียนมาก
ให้เสรีภาพและเคารพในศักดิ์ศรีของผู้เรียน
ครูเป็นผู้ดูแลหรือพี่เลี้ยงให้คำแนะนำปรึกษา
กระบวนการเรียนการสอน
ระเบียบวินัยต่างๆไม่ได้มาจากครูแต่ผู้เรียนช่วยกันกำหนดขึ้นมาเองตามความพอใจ
เน้นการมีส่วนร่วมเป็นหลักสำคัญในการเรียนรู้
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกเรียนด้วยตนเอง
เน้นการกระตุ้นให้ผู้เรียนเป็นตัวของตัวเองที่สุด
ให้อิสระในการเลือกเรียนตามที่สนใจและถนัด
บรรยากาศในชั้นเรียนเต็มไปด้วยเสรีภาพ
หลักสูตร
เป็นหลักสูตรที่ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจตนเองได้ดีขึ้น
เนื้อหาหลักสูตรเน้นทางสาขา
มนุษยศาสตร์(Humanities)
การละคร
ศิลปะ
ปรัชญาวรรณคดี
การเขียน
ปรัชญาการศึกษาอัตตภาวะนิยม
แนวคิดพื้นฐาน
มนุษย์ทุกคนมีความสำคัญและมีลักษณะเด่นเฉพาะตนเอง
สนใจและความเชื่อในเรื่องเกี่ยวกับการมีชีวิตอยู่จริงของมนุษย์
ปรัชญาอัตตภาวะนิยมนี้ยกย่องมนุษย์เหนือสิ่งอื่นใด
แนวคิดทางการศึกษา
ส่งเสริมให้มนุษย์แต่ละคนรู้จักพิจารณาตัดสินสภาพและเจตจำนงที่มีความหมาย
ต่อการดำรงชีวิต
การศึกษาจะต้องให้อิสระแก่ผู้เรียนที่จะเลือกสรรสิ่งต่างๆได้อย่างเสรี
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงออกซึ่งความสามารถ
เชื่อว่า การเรียนรู้ต้องเริ่มที่ตนเอง
มุ่งพัฒนาศักยภาพของนักเรียนแต่ละคนตามความถนัดหรือความสามารถ
จุดมุ่งหมาย
พัฒนาตนเองไปตามความต้องการอย่างอิสระ
มุ่งให้ผู้เรียนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง
การศึกษาจะต้องทำให้ผู้เรียนมีความเข้าใจตนเอง