Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติทางพันธุกรรม - Coggle Diagram
ความผิดปกติทางพันธุกรรม
พันธุกรรม
จากบรรพบุรุษ ไปสู่รุ่นลูกรุ่นหลาน
ถูกควบคุมโดย "ยีน"
การถ่ายทอดลักษณะ
ต่างๆของสิ่งมีชีวิต
ผ่านทางเซลล์สืบพันธุ์
ของพ่อและแม่
พ่อ (อสุจิ)
แม่(ไข่)
ยีนมีอยู่จำนวนมากในเซลล์ทุกเซลล์
กรรมพันธุ์
Chromosome
ลักษณะ
คือพันธุกรรมในร่างกาย
ประกอบขึ้นมาจาก DNA
มี 2 chromatid
ยึดติดกันตรง centromere
มีรูปร่างเหมือนกันเป็นคู่ แต่ละคู่
เรียกว่า " Homologous chromosome"
หมายถึง โครโมโซมที่เป็น Homologous กัน และมียีนที่เป็น Homozygous กันอย่างน้อย 1 คู่
Allel คือ หน่วยของยีนในสิ่งมีชีวิต
Allel จะอยู่เป็นคู่ๆบนตำแหน่งที่ตรงกันของ homologous chromosome
แต่ละเซลล์จะมีโครโมโซม 23 คู๋ หรือ 46 แท่ง
ชนิดของโครโมโซม
Autosome
มี 22 คู่
มีการแบ่งเซลล์แบบ mitosis =2n
ควบคุมลักษณะต่างๆของร่างกาย
Mitosis
prophase
Metaphase
Interphase
Anaphase
Telophase
Sex chromosome
มี 1 คู๋ (คู่ที่ 23)
มีการแบ่งเซลล์แบบ meiosis = n
ทำหน้าที่ควบคุมหรือกำหนดเพศ
Meiosis
Meiosis 1
แบ่งเซลล์ใหม่ลดโครโมโซมเหลือกึ่งหนึ่งของเซลล์เดิม
Meiosis 2
เหมือน mitosis จะได้เซลล์ใหม่ 4 เซลล์และมี
จำนวนโครโมโซมเพียงครึ่งหนึ่งของเซลล์เดิม
เพศชาย-หญิง
เซลล์เพศที่สร้างขึ้นแต่ละเซลล์ จะมีโครโมโซมเพศเพียงชุดเดียว
เซลล์สืบพันธ์
เพศชาย(สเปิร์ม)
จะมีโครโมโซม 2 ชนิด
22+X หรือ 22+Y
เซลล์สืบพันธ์เพศหญิง(ไข่)
จะมีโครโมโซมชนิดเดียว
22+X
ทารก
ชาย : โครโมโซม 44+XY
หญิง : โครโมโซม 44+XX
DNA
ลักษณะ
Deoxyribonucleic acid
เป็นกรดนิวคลีอิก พบใจกลางของเซลล์ทุกชนิด
เป็นสายพันธุกรรม
Nucleotide
มีการเรียงตัวของ Nucleotide เป็นโมเลกุลที่ประกอบด้วย
น้ำตาลเพนโทส (Deoxyribose sugar) : คาร์บอน 5 ATOM
ไนโตรเจนเบส
(Nitrogen base)
เบสใน nucleotide มี 4 ชนิด
A : adenine
T : Thymine
C : Cytosine
G : Guanine
หมู่ฟอสเฟต (Phosphate) : ฟอนฟอรัส และออกซิเจน
Nucleotide ทั้งสองข้างถูกเชื่อมด้วยเบส
A จะเชื่อมกับ T
C จะเชื่อมกับ G
ข้อมูลทางพันธุกรรมเกิดขึ้นจาก
การเรียงลำดับของเบส DNA
Gene
ลักษณะ
ส่วนของ DNA ทีทำหน้าที่ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
อยู่บนโครโมโซม
ประเภทของยีน
ยีนเด่น (Dominant)
แสดงลักษณะนั้นออกมาได้ แม้มีเพียงยีนเดียว
ยีนด้อย (Recessive)
แสดงลักษณะออกมาได้ก็
ต่อเมื่อเป็นคู่ของโครโมโซม
ความผิดปกติของโครโมโซม
ความผิดปกติของ Autosome
ผิดปกติที่จำนวน
Down's syndrome
โครโมโซมแท่งที่ 21 เกินมา 1 แท่ง
พบได้มากที่สุด
มารดา
อายุมารดาที่มากขึ้น เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดโรค
ไข่ที่อายุมากทำให้การแยกตัวของโครโมโซมผิดปกติไป
หญิงตั้งครรภ์อายุเกิน 35 ปี แนะนำให้ตรวจคัดกรองโรค
ลักษณะ
สมองเล็ก กะโฆลกเล็ก ท้ายทอยแบน
ตาห่าง หางตาชี้ขึ้นบน
จมูกเล็กและแฟบ
ตัวสั้น นิ้วสั้น
ปัญญาอ่อน
ผิดปกติที่รูปร่าง
Cri-du-chat syndrome
ความผิดปกติของ sex chromosome
โครโมโซม X ขาด
Turner syndrome
โครโมโซม x ขาดหายไป 1 แท่ง
Kariotype : 45,50
ลักษณะ
รูปร่างภายนอกเป็นหญิง รูปร่างเตี้ย
คอเป็นแผง (web neck)
รับไข่และมดลูกเล็ก
หน้าอกแบนกว้าง
เต้านมเล็ก หัวนมห่าง
อวัยวะเพศเจริญไม่เต็มที่
โครโมโซม x เกิน
Klinefelter syndrome
supermale
พบในผู้ชายที่โครโมโซม X เกินมา 1 แท่ง
Kariotype : 47,xxy
ลักษณะ
อัณฑะเล็ก
เต้านมคล้ายผู้หญิง
อวัยวะเพศภายนอกเป็นเพศชาย
รูปร่างสูง อ้วน
ปัญญาอ่อน
โครโมโซม Y เกิน
Super man
ตาบอดสี (Color Blindness)
ลักษณะ
ยีนด้อยบนโครโมโซม x
ส่วนใหญ่พบในเพศชาย
พบ 8% ของเพศชาย และ 0.5%ของเพศหญิง
มองเห็นสีผิดปกติ
ส่วนใหญ่จะขาด red cones ทำให้แยกสีแดงจากสีเขียวไม่ได้
ฮีโมฟีเลีย (Hemophilia)
เมื่อมีบาดแผลแล้วหยุดยาก
ยีนด้อยบนโครโมโซม X
ขาดสารที่ทำให้เลือดแข็งตัว (coagulation factor)
ภาวะพร่องเอนไซม์ G-6-PD
ยีนด้อยบนโครโมโซม X
ส่วนใหญ่พบในเพศชาย
เม็ดเลือดแดงแตกง่าย
การวินิจฉัยโรคทางพันธุกรรม
ประกอบด้วย
ประวัติสุขภาพของพ่อและแม่
ประวัติสุขภาพของครอบครัว
การตรวจร่างกาย
ลักษณะทางภายบ่งบอกความผิดปกติทางพันธุกรรม
การตรวจพันธุกรรม
ตรวจหาโรคพันธุกรรมของทารกในครรภ์
ตรวจหายีนความผิดปกติของยีนในร่างกายพ่อและแม่
การตรวจคัดกรองตัวอ่อนในครรภ์ของแม่
ตรวจหาโรคทางพันธุกรรมในผู้ใหญ่
ตรวจวินิจฉัยเพื่อยืนยันโรคในผู้ที่เริ่มมีอาการ
วินิจฉัยเพื่อใช้ประกอบในการเลือกใช้ยาและปริมาณของยาที่เหมาะสมกับผู้ป่วย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจสารพันธุกรรม (Molecular Genetic Tests)
นำยีน หรือ DNA ช่วงสั้นๆ มาตรวจเพื่อระบุลักษณะของยีน
การตรวจโครโมโซม (Chromosomal Genetic Tests)
การตรวจชีวเคมีในพันธุกรรม (Biochemical Genetic Tests)
การป้องกันความผิดปกติทางพันธุกรรม
1.ควรให้ผู้ป่วยกินอาหารพวกโปรตีน และอาหารที่มีโฟลิกสูง
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบเกี่ยวกับโรคกรรมพันธุ์นี้
แนะนำให้พ่อแม่ที่มีลูปธาลัสซีเมียคุมกำเนิด
ในปัจจุบันสามารถใช้วิธีการพิเศษ เพื่อตรวจดูว่ามีเชื้อกรรมพันธุ์ของโรคนี้หรือไม่
การป้องกันโรคทางพันธุกรรม
ปัจจุบันยังไม่มีวิธีใดทางการแพทย์ที่ช่วยป้องกันโรคทางพันธุกรรมได้
แต่สามารถรับมือได้
ครอบครัวที่มีประวัติโรคทางพันธุกรรม หรือมีความเสี่ยงควรเข้ารับการปรึกษาก่อนตั้งครรภ์ (prenatal Genetic Counseling)
ผู้ที่ควรเข้ารับคำปรึกษาทางพันธุกรรม
อายุ >35 ปี และต้องการมีบุตร
มีประวัติแท้ง
เคยรักษาด้วยเคมีด้วยเคมีบำบัด
ได้รับสารเคมีที่ส่งผลให้เกิดความพิการแต่กำเนิดของทารก
ติดเชื้อไวรัสไวรัสระหว่างตั้งครรภ์
ยาหรือแอลกอฮอล์ในระหว่างตั้งครรภ์
ตรวจสงสัยกลุ่มอาการดาวน์ของทารกในครรภ์
ตรวจอัลตราซาวด์และพบความผิดปกติของทารก
ผู้ที่มีความกังวลและตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม
วิธีการตรวจขึ้นกับอายุครรภ์
การเจาะน้ำคร่ำ (Amniocentesis)
วิธีที่นิยมที่ใช้ในการตรวจทางพันธุกรรม
ตรวจเอาน้ำคร่ำที่อยู่รอบตัวเด็กภายในมดลูก
ใช้กับครรภ์ที่มีอายุ 16-20 week
การตรวจโครโมโซม (CVS)
ตรวจโดยนำตัวอย่างของรกมาตรวจดูความผิดปกติที่โครโมโซม
ตรวจในช่วงอายุครรภ์ 10-13 week