Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มารดาหลังคลอดที่มีภาวะเบี่ยงเบนทางสุขภาพ - Coggle Diagram
มารดาหลังคลอดที่มีภาวะเบี่ยงเบนทางสุขภาพ
ภาวะเบี่ยงเบนทางกาย
1.Reactionary fever
การพยาบาล
กระตุ้นให้มารดาดื่มน้้าบ่อยๆเพื่อช่วยระบายความร้อน
ดูแลเช็ดตัวเพื่อช่วยระบายความร้อนและความสุขสบาย
ดูแลให้มารดาพักผ่อนอย่างเพียงพอ จัดกิจกรรมให้เสร็จในคราวเดียวเพื่อลดการรบกวน
ดูแลให้เครื่องดื่มอุ่นๆ เพื่อให้อิ่มสบายท้อง ท้าให้พักผ่อนและหลับได้
2.After pain
การพยาบาล
1.อธิบายสาเหตุพร้อมทั้งให้ความมั่นใจกับมารดาว่าความไม่สุขสบายที่เกิดขึ้น เป็นอาการปกติที่พบได้ใน 2-3 วันแรกหลังคลอดและจะค่อย ๆ หายไปในวันที่ 3-7 หลังคลอด แต่ถ้าปวดมากอาจให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
2.มารดาที่เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาและมีอาการปวดมดลูกมากขณะที่ให้บุตรดูดนม อาจให้มารดารับประทานยาแก้ปวดก่อนให้นมบุตรอย่างน้อย 30 นาที
3.มีอาการปวดมดลูกนานเกินกว่า 72 ชั่วโมง หรือมีอาการปวดรุนแรง อาจเกิดจากมีเศษรกและก้อนเลือดค้างในโพรงมดลูกซึ่งควรส่งต่อแพทย์เพื่อให้ได้รับการรักษาต่อไป
3.เจ็บแผลฝีเย็บ
การพยาบาล
1.ใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด ประคบบริเวณแผลฝีเย็บด้วยความเย็น
2.หลัง 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด ประคบบริเวณฝีเย็บด้วยความร้อน
แนะน้าให้มารดาหลังคลอดบริหารกล้ามเนื้อบริเวณช่องคลอด ฝีเย็บ และทวารหนักด้วยการท้า kegel's exercises
แนะน้าให้มารดาหลังคลอดเกร็งกล้ามเนื้อแก้มก้น (butock)
แนะน้าให้มารดานอนตะแคงด้านตรงกันข้ามกับแผลฝีเย็บเวลาขยับตัวหรือลุกนั่งให้ท้าอย่างช้าๆเพื่อลดการกดทับ
แนะน้าการขมิบช่องคลอด
7.แนะน้าให้มารดาหลังคลอดใส่ผ้าอนามัยเพื่อสังเกตลักษณะน้้าคาวปลา และสังเกตความผิดปกติของน้้าคาวปลาขณะขับถ่ายและเปลี่ยนผ้าอนามัย
แนะน้าการใช้ผ้าอนามัยที่ถูกวิธี
ถ้าปวดมากให้ยาลดปวดตามแผนการรักษาของแพทย์
ริดสีดวงทวารอักเสบ
การพยาบาล
แนะน้ามารดาหลีกเลี่ยงการนั่งนานๆหรือนั่งนานมากกว่า 30นาที
ให้นอนพักในท่านอนตะแคงซ้าย (Sim position) หรือนอนคว่้า (Prone position)
จัดให้นั่งบนเบาะนุ่มแทนการนั่งที่เตียงโดยตรงเพื่อปูองกันแรงกดทับที่ทวารหนัก
ดูแลให้มารดานั่งแช่ก้นด้วยน้้าอุ่นละลายด่างทับทิม (hot sitz bath)วันละ 2 ครั้ง
แนะน้าให้ดื่มน้้าอย่างน้อยวันละ 8–10 แก้ว และรับประทานอาหารที่มีกากใย
หากปวดมากให้ยาลดปวด ตามแผนการรักษาของแพทย์
ท้องผูก
ปัสสาวะลำบาก
พัฒนกิจการเป็นมารดาในระยะหลังคลอด
1.การยอมรับบุตร
2.การตระหนักว่าบุตรเป็นบุคคลหนึ่งที่แยกจากตนเอง
3.การมีความรับผิดชอบและความสามารถในการดูแลบุตร
4.การสร้างเกณฑ์ประเมินความส าเร็จหรือความล้มเหลวในการดูแลบุตรอย่างมีเหตุผล
5.การก าหนดตำแหน่งหรือฐานะบุตรในการเป็นสมาชิกครอบครัว
6.การจัดแบ่งเวลาสำหรับการอยู่ใกล้ชิดกันตามลำพังกับสามี
การปรับตัวของมารดาในระยะหลังคลอดการปรับตัวของมารดาตามระยะเวลาหลังคลอด 3 ระยะ
1.Taking-in phase (dependent phase)
2.Taking-hold phase (dependent –independent phase)
3.Letting-go phase ( interdependent phase)