Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ย้ายเพื่อใคร? - Coggle Diagram
ย้ายเพื่อใคร?
3.Metabolism Pathway
-
-
-
-
5.Glycogen Metalism
-
-
การวิเคราะห์ไกลโคเจน
เป็นแหล่งพลังงานในตับเป็นต้นกำเนิดของกูโคตที่ปอนด์ให้กระแสเลือดเพื่อนำไปใช้ในเนื้อเยื่อต่างๆระหว่างมื้ออาหารแต่ละมื้อและในภาวะอดอาหาร 12 ถึง 15 ชั่วโมง
-
-
1.งานย่อยคาร์โบไฮเดรต
-
-
ระบบย่อย
ปาก การย่อยในปากเริ่มต้นจากการเขียวอาหารโดยการทำงานร่วมกันของฟันลิ้นแหละแก้มซึ่งถือเป็นการย่อยเชิงกลทำให้อาหารไก่เป็นชิ้นเล็กๆมีพื้นที่ผิวสัมผัสกับเอนไซม์ได้มากขึ้นในขณะเดียวกันต่อมน้ำลายก็จะหลั่งน้ำลายออกมาช่วยคลุกเคล้าให้อาหารเป็นก้อนลื่นสะดวกต่อการกลืนเอนไซม์ในน้ำลายคือชัยยะลินหรืออะไมเลสจะย่อยแป้งในระยะเวลาสั้นสั้นในขณะที่อยู่ในช่องปากให้กลายเป็นเดกซ์ทริน ซึ่งเป็นคาร์โบไฮเดรตที่มีโมเลกุลเล็กกว่าแป้งแต่ใหญ่กว่าน้ำตาลและถูกย่อยต่อไปจนเป็นน้ำตาลโมเลกุลคือมอลโตส
กระเพาะอาหารเป็นอวัยวะที่เชื่อมต่อจากหลอดอาหารอยู่บริเวณด้านบนซ้ายของช่องท้องจากกระบังลมลงมามีความยาวประมาณ 10 ถึง 5 นิ้วจึงถือว่าเป็นส่วนของทางเดินอาหารที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
ลำไส้เล็กเป็นส่วนที่ยาวที่สุดของทางเดินอาหารตอบมาจากกระเพาะอาหารมีความยาวประมาณเจ็ดถึง 8 เมตรผนังด้านในของลำไส้เล็กมีลักษณะเป็นลอนตามขวางมีส่วนยื่นเล็กๆมากมายเป็นตุ่มเรียกว่าวิลลัสเพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวในการดูดซึมอาหารไก่ย่อยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-
- ตับมีหน้าที่สร้างน้ำดีส่งไปเก็บที่ถุงน้ำดี
- ตับอ่อนมีหน้าที่สร้างเอนไซม์ส่งไปย่อยอาหารที่ลำไส้เล็ก
- ลำไส้เล็กสร้างเอนไซม์มอลเทส ซูเครส และแล็คเทสย่อยอาหารที่ลำไส้เล็ก
-
2.การดูดซึมคาร์โบไฮเดรต
คาร์โบไฮเดรตอยู่ในรูปโมโนแซ็กคาไรด์เท่านั้นที่จะถูกดือดูดซึมผ่านเซลล์เยี่ยเบื่ผนังลำไส้เล็กเข้าสู่กระแสเลือดได้กลไกการดูดซึมโมโนแซ็กคาไรด์ผ่านเซลล์เยี่ยบุผนังลำไส้เล็กเกิดขึ้นได้สองแบบ
- การดูดซึมแบบแพร่กระจายผ่านเซลล์ เหยื่อเบื่ผนังลำไส้เล็กหรือ nonspecific absorption เป็นการดูดซึมโดยอาศัยความเข้มข้นที่แตกต่างกันระหว่างน้ำตาลในลำไส้เล็กและน้ำตาลภายในเซลล์เยี่ยเบื่ผนังลำไส้เล็ก
2.การดูดซึมแบบต้องอาศัยพลังงาน( active transport หรือ specific absorption) เป็นการดูดซึมน้ำตาลที่ต้องอาศัยพลังงาน
5.โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานแบ่งเป็น4ชนิด
- เกิดจากเซลล์ตับอ่อนถูกทำลาย
ทำให้ร่างกายขาดอินชูนลิน
- เกิดจากภาวะดื้อต่ออินชูลิน
พบในผู้ใหญ่หรือคนอ้วน
- โรคของตับอ่อน
โรคทางต่อมไร้ท่อ
- ขณะตั้งครรภ์มักเกิดเมื่อไตรมาร2-3ของการตั้งครรภ์
-