Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสภาพของกล้ามเนื้อและกระดูก - Coggle Diagram
พยาธิสภาพของกล้ามเนื้อและกระดูก
เซลล์ที่เป็นส่วนประกอบของกระดูก
Osteoprogenator cells
เป็นเซลล์ต้นกำเนิดของเนื้อเยื่อเกี้ยวพัน พบอยู่บริเวณผิวของกระดูกทั่วร่างกายเมื่อถูกกระตุ้นจะเปลี่ยนแปลง แบ่งเซลล๋และเจริญไปเป็น Osteoblast
Osteoblast
พบอยู่บริเวณผิวของกระดูก หน้าที่สร้างขนส่งและจัดรูปสารพวกโปรตีนที่เป็ น Metrixของ
กระดูก มี receptors ของฮอร์โมนที่จำเป็นต่อการสร้างกระดูกและทำลายกระดูก ได้แก่
parathyroid hormone, Vit D, estrogen, cytokines ang growth factors เมื่อสร้าง Metrix ล้อมกรอบไว้แล้ว จะเรียกว่า osteocytes
Osteocytes
มีบทบาทในการควบคุมระดับของแคลเซียมและฟอสฟอรัสใน serum, osteocytes osteocytes จะติดต่อ
กับเซลล์อื่น ๆ ผ่านทาง canaliculi ท าให้สารต่าง ๆ และ surface membrane potentials สามารถ ส่งผ่านถึงกันได้
Osteoclast
หน้าที่ดูดซึมและทำลายกระดูก (resorption) ซึ่ง osteoblast และ osteoclast จะทำงานประสาร กันในขบวนการสร้างกระดูก การทำลายและดูดซึมกระดูก (อายุน้อยกว่า 30 ปี จะมีการส้รางมากกว่าทำลาย และเมื่ออายุมากกว่า 40 ปี จะเริ่มมีการทำลายมากกว่าการส้ราง)
พยาธิสภาพของกระดูก
ความหมาย เป็นความผิดปกติที่เกิดขึ้นและส่งผลทำให้ระบบกระดูกทำงานที่บกพร่อง
หน้าที่ของกระดูก
-เป็นแหล่งสะสมของCALCIUM
-เป็นที่ยึดเกาะของเส้นเอ็นกล้ามเนื้อ
-ช่วยในการเคลื่อนไหว
-สร้างเม็ดเลือด
-ปกป้องอวัยวะภายในร่างกาย
สาเหตุการเกิดพยาธิสภาพของกระดูก
-ความผิดปกติของพันธุกรรม
-ไม่ใช้การติดเชื้อ
-ได้รับแรงกระแทก แตก หัก
-การติดเชื้อ
-ความเสื่อมจากพฤติกรรม
-ความเสื่อมตามวัย
-ความผิดปกติขององค์ประกอบอื่นๆที่สัมพันธ์กัน ได้แก่ กล้ามเนื้อ ข้อต่อ เส้นเอ็น ระบบประสาท
การติดเชื้อที่ข้อต่อ และ กระดูก
โรคข้อเสื่อม (OSTEOARTHRITIS:OA)
ข้ออักเสบรูมาตอยด์
RHEUMATOID ARTHRITIS; RA
SEPTICARTHRITIS
OSTEOMYELITIS
OSTEOMYELITIS การอักเสบติดเชื้อของกระดูก
เป็นการติดเชื้อของกระดูกทุกชั้น ตั้งแต่ bone marrow cotexจนถึงชั้น periosteum ตำแหน่องที่พบบ่อยในวัยผู้ใหญ่คือ กระดูกสันหลัง เท้าและกระดูกต้นขา
การรักษา
1.การให้ยาปฎิชีวนะ
2.การให้น้ำเกลือ กรณีเกิดขาดสมดุลน้ำและแกลือแร่
3.ทำการผ่าตัดเอาหนองออก
ไม่ใช้การติดเชื้อที่กระดูก
โรคกระดูกพรุน
1.การขาดฮอร์โมนเฮดโตรเจน
2.การหมดประจำเดือน
3.การรับประทานยาที่ทำให้เกิดโรคกระดูกพรุน
4.นิโคติน
5.การออกกำลังกายน้อย หรือการขาดการออกกำลังกาย
การรักษาโรคกระดูกพรุน
1.กลุ่มยาที่ยับยั้งการสลายตัวของกระดูก
2.กลุ่มยาที่กระตุ้นกระดูก
โรคกระดูกพรุน(OSTEOPOROSIS)
กระดูกหัก
(FRACTURE)
เก๊าท์
(GOUT ARTHRITIS)
มะเร็งกระดูก
(BONE TUMOR)
วัณโรคกระดูก
(BONE TUBERCULOSIS)
พยาธิสภาพของกล้ามเนื้อ Pathology of Muscle
-กล้ามเนื้อจะเป็นเนื้อเยื่อที่มีความทนต่อสิ่งที่มารบกวนหรือทำาให้เกิดอันตราย โดยเฉพาะเมื่อเส้นประสาทและเส้นเลือดที่มาเลี้ยงอยู่ในสภาพสมบูรณ์ ปกติ
-กล้ามเนื้อจะมีการรปับตัวเองให้ใหญ่ขึ้ นหรือเล็กลงตามขนาดการใช้งาน
กล้ามเนื้ออ่อนแรงจากความผิดปกติของระบบพลังงานและต่อมไร้ท่อ
1.ความผิดปกติที่เกิดจากความบกพร่องในการสะสมไกลโคเจนและการสลายกลูโคส
2.ความผิดปกติจากmetabolism ของไขมัน
3.ความผิดปกติจากต่อมหมวกไต
4.ความผิดปกติจากต่อมหมวกไทรอยด์
5.ความผิดปกติของต่อมไร้ท้อในตับอ่อน เช่น เบาหวาน