Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักประกันสุขภาพ และระบบบริการสุขภาพในประเทศไทย - Coggle Diagram
หลักประกันสุขภาพ และระบบบริการสุขภาพในประเทศไทย
ความเป็นมา
ช่วงทศวรรษ 1970 และ 1990 ประเทศไทยมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว แต่ต่อมาเจอวิกฤตน้ำมันสองครั้ง ทำให้เศรษฐกิจไทยชะลอตัว แต่ไม่ส่งผลด้านลบต่อการพัฒนาสังคม และสุขภาพ รัฐบาลให้ความสำคัญในการพัฒนาสุขภาพ เน้นพื้นที่ชนบทเพื่อต่อสู้ความยากจนท่ามกลางการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์ในประเทศเพื่อนบ้าน
พ.ศ.2547 ความยากไร้ลดลงเหลือน้อยกว่าร้อยละ 1
พ.ศ.2545 บรรลุหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
การเปลี่ยนแปลงด้านประชากร และระบาดวิทยา
ประชากรวัยทำงานลดลง ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น เนื่องจากอัตราเจริญพันธุ์ อัตราการเกิด อัตราการตายต่ำ ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ และการดูแลด้านสังคมเพิ่มสูงขึ้นด้วย
โรคติดเชื้อลดลง อัตราการตายจากโรคติดเชื้อเพิ่มขึ้น เนื่องจากอัตราการตายที่เพิ่มขึ้นของโรคเอดส์มาคู่กับวัณโรค การเข้าถึงยาต้านไวรัสโรคเอดส์ลดลง
ความท้าทายจากปัจจัยนอกระบบสุขภาพ
2.ผลิตยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
3.เสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุทางจราจร เช่น เมาแล้วขับ ไม่สวมหมวกกันน็อค การไม่ใช้เข็มขัดนิรภัย
1.ผู้เสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ร้อยละ 71.3ของการเสียชีวิตทั้งหมด ความต้องการนโยบายที่มีประสิทธิผลในการป้องกันโรคระดับปฐมภูมิ
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติตั้งแต่ทศวรรษ 1970
การพัฒนาระบบสุขภาพแห่งชาติ ด้านการสร้างรากฐานที่มั่นคง
พ.ศ.2520 ลงทุนขนาดใหญ่ด้านโครงสร้างพื้นฐานในพื้นที่อำเภอ และตำบล
พ.ศ.2533 จัดตั้งโรงพยาบาลชุมชนในทุกอำเภอ
พ.ศ.2535 - 2544 พัฒนาสถานีอนามัยมีครบทุกตำบล
องค์ประกอบสำคัญของการพัฒนาสุขภาพของประเทศไทย คือ ระบบสุขภาพระดับอำเภอ ประกอบด้วย สถานีอนามัย และโรงพยาบาลชุมชน
สถานีอนามัย เป็นด่านแรกที่เข้ารับการรักษาเมื่อเจ็บป่วย (รักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิ)
โรงพยาบาลชุมชน ครอบคลุมบริการ (รักษาพยาบาลระดับทุติยภูมิ)
การพัฒนาบุคลากร
พ.ศ.2515 กระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้แพทย์ และพยาบาลจบใหม่ทำงานชดใช้ในพื้นที่ชนบทเป็นเวลา 3 ปี ต่อมาขยายไปยังทันตแพทย์ เภสัชกร รัฐบาลสร้างแรงจูงใจทางการเงิน เช่น ค่าเบี้ยกันดาร แรงจูงใจที่ไม่ใช่เงิน เช่น รางวัลบุคลากรดีเด่นประจำปี
พ.ศ.2489 กระทรวงสาธารณสุขจัดตั้งวิทยาลัยพยาบาล และผดุงครรภ์
พ.ศ.2560ได้รับการขึ้นทะเบียนและรองรับจากสภาการพยาบาล เป็น "วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีของกระทรวงสาธารณสุข"
และได้ก่อตั้งวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธรทั้งหลักสูตรอนุปริญญา และปริญญาตรี
สวัสดิการด้านการรักษาพยาบาล
ข้าราชการ
พ.ศ.2523 ออกพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลครั้งแรก ครอบคลุมการรักษาสำหรับข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และครอบครัว รวมถึงพ่อแม่ คู่สมรส บุตรที่อายุต่ำกว่า 18 ปี
โครงการประกันสุขภาพภาคสมัครใจสำหรับแรงงานนอกระบบ
พ.ศ.2526 กระทรวงสาธารณสุขออกบัตรประกันสุขภาพเป็นการซื้อประกันสุขภาพแบบสมัครใจต้องจ้ายเงินสมทบ 500 บาทต่อครอบครัวต่อปี (สมาชิกไม่เกิน 5 คน)
พ.ศ.2537 กระทรวงสาธารณสุขร่วมอุดหนุนงบประมาณ 500 บาทต่อบัตรประกันสุขภาพ เพื่อเป็นแรงจูงใจให้ประชาชนร่วมซื้อบัตรประกันสุขภาพมากขึ้น
ผู้มีรายได้น้อยและผู้ด้อยโอกาส
พ.ศ.2518 กระทรวงสาธารณสุขจัดทำโครงการสวัสดิการประชาชนด้านการรักษาพยาบาลสำหรับผู้มีรายได้น้อยและผู้ด้อยโอกาส
สิทธิประกันสังคมลูกจ้างภาคเอกชน
พ.ศ.2533 กองทุนประกันสังคมเกิดขึ้นภายใต้พระราชบัญญัติประกันสังคม สำหรับลูกจ้างภาคเอกชน
สิทธิประโยชน์ 7 กรณี กองทุนประกันสังคมมีรายได้จากเงินสมทบจ่ายเท่าๆกันของ 3 ฝ่าย ได้แก่ นายจ้าง ลูกจ้าง และรัฐบาล สำนักงานประกันสังคม เป็นผู้บริหารจัดการทุน
ทุพพลภาพ
ตาย
เจ็บป่วย
คลอดบุตร
สงเคราะห์บุตร
ชราภาพ
ว่างงาน
วิวัฒนาการระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
2544 การเมืองขับเคลื่อนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
เดือนเมษายน พ.ศ.2544 พรรคไทยรักไทยเป็นรัฐบาลทำโครงการนำร่องหลักประกันสุขภาพ 6 จังหวัด และขยายทั่วประเทศในเดือนเมษายนปีต่อมา
ผู้รับบริการจ่ายเพียง 30 บาท/ครั้ง ของรักษาพยาบาลแบบผู้ป่วยนอก หรือต่อครั้งของการนอนโรงพยาบาล
ปัจจัยสำคัญทำให้ประเทศไทยบรรลุหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าได้
การมีภาวะผู้นำและความมุ่งมั่นของภาคการเมือง
ความพร้อมของระบบสุขภาพ
พื้นที่การคลังเพิ่มขึ้นจากการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
สุขภาพสำหรับบุคคลต่างด้าว
พ.ศ.2544 กระทรวงสาธารณสุขจัดตั้งโครงการประกันสุขภาพแบบสมัครใจสำหรับบุคคลต่างด้าว
ความสำเร็จของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
เกิดจาก การเพิ่มและการกระจายการใช้บริการสุขภาพ
เพิ่มโอกาสการเข้ารับบริการตรวจสุขภาพประจำปี และเพิ่มการใช้บริการนอนโรงพยาบาล วิเคราะห์การกระจายประโยชน์ พบว่า กลุ่มผู้มีรายได้น้อยที่สุดเป็นกลุ่มที่ได้ประโยชย์จากการเพิ่มการเข้าถึงบริการมากที่สุด
พ.ศ.2551 การเพิ่มสิทธิประโยชน์การบำบัดทดแทนไตเข้าในชุดสิทธิประโยชน์เพิ่มความเท่าเทียมในการเข้าถึงบริการ การช่วยรักษาชีวิต และการป้องกันความเสี่ยงทางการเงินของครัวเรือน
ด้านการบริหารจัดการของสถานบริการ
พ.ศ.2546 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาลพัฒนากระบวนการรับรองคุณภาพแบบขั้นบันได
พ.ศ.2550 สปสช.ออกระเบียบค่าตอบแทนตามระดับชั้นที่สถานพยาบาลผ่านการประเมินแล้วได้รับค่าตอบแทนสูงสุด
พ.ศ.2555 สถานพยาบาลเกือบทั้งหมดได้รับการตรวจ หรือได้รับการรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
การจัดระบบบริการสุขภาพในกลุ่มต่างๆ สำหรับผู้ใช้สิทธิบัตรทอง
การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค สิทธิบัตรทอง
4.วัคซีนไข้หวัดใหญ่
5.การตรวจคัดกรอง เพื่อค้นหาภาวะเสี่ยง
3.การเยี่ยมบ้านและผู้ป่วยที่บ้าน
6.การเสริมสร้างสุขภาพ และป้องกันโรคในช่องปาก
2.การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
7.การให้คำปรึกษา เสริมสร้าง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
8.การตรวจและบริบาลสุขภาพ
9.การให้ยาต้านไวรัสโรคเอดส์
1.วางแผนครอบครัว
10.การตรวจและการดูแล เพื่อส่งเสริมสุขภาพ
กลุ่มเด็กเล็ก 0-5 ปี
4.ตรวจคัดกรอง (ภาวะพร่องไทรอยด์ ภาวะติดเชื้อเอชไอวี)
5.ป้องกันภาวะพร่องไทรอยด์
3.ตรวจช่องหากและฟัน (เคลือบฟลูออไรด์)
6.ฉีดวัคซีนตามฤดูกาล
2.ตรวจคัดพัฒนาการ (ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง)
7.สมุดบันทึกสุขภาพ
1.ดูแลตั้งแต่แม่เริ่มตั้งครรภ์ (ฝากครรภ์คุณภาพ)
กลุ่มเด็กโต และวัยรุ่น 6-24 ปี
5.ตรวจวัดความดันโลหิต
6.ตรวจคัดกรองสายตา และการได้ยิน
4.มอบแว่นตา หากมีภาวะสายตาสั้นผิดปกติ
7.คัดกรองคาวมเสี่ยง
3.เคลือบฟลูออไรด์
8.การป้องกันและควบคุมการตั้งครรภ์
2.ตรวจเลือดคัดกรอง
9.การคุมกำเนิด
1.ฉีดวัคซีนคอตีบ และบาดทะยัก
กลุ่มผู้ใหญ่ อายุ 25-59 ปี
4.ฉีดวัคซีนคอตีบ และบาดทะยัก
5.การคุมกำเนิด การป้องกัน และควบคุมการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
3.การให้ยาบำรุงเสริมธาตุเหล็ก
6.คัดกรองความเสี่ยงจากการสูบบุหรี่ สุรา และสารเสพติด
2.ตรวจเลือดคัดกรองเบาหวาน เอชไอวี
7.ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
1.ให้คำปรึกษาแนะนำ ให้ความรู้ตรวจเต้านมด้วยตนเอง
8.เคลือบฟลูออไรด์
9.คัดกรองปัจจัยต่อการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือด
10.ตรวจวัดความดันโลหิต
กลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป
5.ตรวจเลือดคัดกรองเบาหวาน เอชไอวี
6.คัดกรองปัจจัยเสี่ยงโรคหัวใจ หลอดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง
4.ตรวจวัดความดันโลหิต
7.คัดกรองโรคซึมเศร้า
3.ตรวจวัดดัชนีมวลกาย
8.การเคลือบฟลูออไรด์
2.ตรวจประเมิน(ADL) ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน
9.การให้ความรู้ออกกำลังกาย และฝึกสมอง ป้องกันโรคสมองเสื่อม
1.ฉีดวัคซีนคอตีบ และบาดทะยัก
10.การให้ความรู้ตรวจเต้านมด้วยตนเอง
คนพิการ
บริการขั้นพื้นฐานทางการแพทย์
3.การคลอดบุตร
5.บริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค
2.บริการทันตกรรม
5.การตรวจวินิจฉัยโรค
1.การรักษาพยาบาล
บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์
3.การแก้ไขการพูด
4.กิจกรรมบำบัด
2.การฟื้นฟูการได้ยิน
5.จิตบำบัด
1.การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการเห็น
6.กายภาพบำบัด
7.พฤติกรรมบำบัด
8.การได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยตามความพิการ
บริการแพทย์แผนไทย
ด้านการแพทย์ให้คนพิการ บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ
ผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟู
ยาสมุนไพร หรือยาแผนไทย
-การนวดเพื่อรักษา
-ทับหม้อเกลือฟื้นฟูแม่หลังคลอด
-การอบ หรือประคบสมุนไพรเพื่อการรักษา
ฟื้นฟูแม่หลังคลอด
คลอดปกติ
เข้ารับบริการหลังคลอด 2-7 วัน
คลอดด้วยการผ่า
เข้ารับบริการหลังคลอด 1 เดือน เพื่อให้แผลเข้าที่ก่อน
กิจกรรม 5 ประเภท
เข้ารับบริการ(ไม่เกิน1ครั้ง/วัน) และติดต่อกันทุกวัน(ไม่เกิน 5 ครั้ง)
การนึ่ง/นาบ/ทับหม้อเกลือ
การอบสมุนไหร/เข้ากระโจม
การประคบสมุนไพร
การแนะนำปฏิบัติตัวหลังคลอด
การนวดไทย
สิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
อุบัติเหตุ
คือ เหตุการณ์เกิดขึ้น โดยไม่ตั้งใจหรือคาดคิด ทำให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สิน บุคคลได้รับอันตรายอาจบาดเจ็บ พิการ หรือรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต
แนวทางการใช้สิทธิ
กรณีประสบอุบัติเหตุทั่วไป
1.เข้ารับบริการที่หน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพที่อยู่ใกล้ที่สุด ตามความจำเป็นโดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง
2.แจ้งความจำนงใช้สิทธิบัตรทองก่อนรับบริการ
3.กรณีเข้ารับการรักษาโรงพยาบาลเอกชนที่ไม่เข้าร่วมโครงการสปสช. (ติดต่อ สายด่วน สปสช.1330)
กรณีประสบอุบัติเหตุจากรถ
ผู้มีสิทธิได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายว่าด้วย(การคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ)
1.แจ้งความจำนงใช้สิทธิบัตรทองก่อนรับบริการ
2.กรณีเข้ารับการรักษาโรงพยาบาลเอกชนที่ไม่เข้าร่วมโครงการสปสช. (ติดต่อ สายด่วน สปสช.1330)
เจ็บป่วยฉุกเฉิน
คือ บุคคลซึ่งได้รับบาดเจ็บ หรือมีอาการป่วยกระทันหัน ซึ่งเป็นภัยอันตรายต่อการดำรงชีวิต หรือการทำงานของอวัยวะสำคัญจำเป็นต้องได้รับการประเมินการจัดการ เพื่อป้องกันการเสียชีวิตหรือรุนแรงขึ้น
แนวทางการใช้สิทธิ
2.แจ้งความจำนงใช้สิทธิบัตรทองก่อนรับบริการ
3.กรณีเข้ารับการรักษาโรงพยาบาลเอกชนที่ไม่เข้าร่วมโครงการสปสช. (ติดต่อ สายด่วน สปสช.1330)
1.เข้ารับบริการที่หน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพที่อยู่ใกล้ที่สุด ตามความจำเป็นโดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง
เจ็บป่วยทั่วไป
คือ อาการเจ็บป่วยที่ไม่ใช่อาการฉุกเฉิน (รอหรือเลือกบริการสาธารณสุขในเวลาทำการปกติได้)
แนวทางการใช้สิทธิ
1.ติดต่อหน่วยบริการปฐมภูมิ/หน่วยบริการประจำตามสิทธิ
2.แจ้งความจำนงใช้สิทธิบัตรทองก่อนรับบริการ
3.แสดงบัตรประจำตัวประชาชน
การส่งต่อเพื่อการรักษาต่อเนื่อง
คือ หากการรักษาพยาบาลครั้งนั้น"เกินศักยภาพของหน่วยบริการ" จะส่งต่อไปยังหน่วยบริการที่มีศักยภาพที่สูงกว่าตามภาวะการจำเป็นของโรค
แนวทางการใช้สิทธิ
1.เข้ารับบริการที่หน่วยบริการประจำตามสิทธิ "หากหน่วยบริการปฐมภูมิเกินศักยภาพจะได้รับการส่งต่อตามขั้นตอน"
2.แจ้งความจำนงใช้สิทธิบัตรทองก่อนรับบริการ
6 อาการเข้าข่าย
"ภาวะวิกฤตฉุกเฉิน"
3.ซึมลง เหงื่อแตก ตัวเย็น
4.เจ็บหน้าอก เฉียบพลัน รุนแรง
2.หายใจเร็ว หอบเหนื่อยรุนแรง หายใจติดขัดมีเสียงดัง
5.แขนขาอ่อนแรงครึ่งซีก พูดไม่ชัดแบบปัจจุบันทันด่วน หรือชักต่อเนื่องไม่หยุด
1.หมดสติ ไม่รู้สึกตัว ไม่หายใจ
6.อาการอื่นที่มีผลต่อการหายใจ