Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Biochemistry of Hormones - Coggle Diagram
Biochemistry of Hormones
Overview
Hormone
หลั่ง>Blood ผ่านกระแสเลือด>Target cellหรือเซลล์เป้าหมาย หลั่งจากต่อมไร้ท่อหรือจากเนื้อเยื่อ เป็นตัวนำข่าวสารระหว่างเนื้อเยื่อปริมาณเพียงเล็กน้อยก็สามารถออกฤทธิ์ได้ ออกฤทธิ์กับเซลล์เป้าหมายโดยผ่านตัวรับ (receptor)
- การจำแนกตามลักษณะการทำงานหรือการออกฤทธิ
-
-
-
- การจำแนหตามสารโมเลกุลหลักที่ใช้สังเคราะฟ์ฮอร์โมน
สร้างสารโมเลกุลหลักที่ใช้ในการสังเคราะห์ฮอร์โมน
1.ฮอร์โมนที่เป็น ( Amion acid derivative hormone)
2.เพปไทด์ / โปรตีน ( Peptide hormone )
3.สเตอรอยด์ฮอร์โมน ( Steroid hormone )
4.ฮอร์โมนที่เป็นกลุ่มอื่น
2.1 Amion acid derivative hormone
Epinephrin>>Tyrosine>>ต่อมหมวกไตชั้นใน>>ควบคุมแมแทลิซึมคาร์โบไฮเดตรและระดับแคลเซียมในเซลล์ Norepinephrine>>Tyrosine>>ต่อมหมวกไตชั้นใน>>ควบคุมแมแทลิซึมคาร์โบไฮเดตรและระดับแคลเซียมในเซลล์
Thyroxine (T4)>>Tyrosine>>ต่อมไทรอยด์>>ควบคุมอัตราการเผาผลาญสารอาหารในร่างกาย
Triiodothyronine (T3)>>Tyrosine>>ต่อมไทรอยด์>>ควบคุมอัตราการเผาผลาญสารอาหารในร่างกาย
Melatonin>>Tryptophan>ต่อมไพเนียล>>ควบคุมสีผิว
2.2Peptidehormone
Thyrotropin-releasing hormone (TRH)>>Hypothalamus>>กระตุ้นการหลั่ง thyrotropin จากต่อมใต้สมอง
Gonadotropin-releasing hormone(GnRH)>>Hypothalamus>>กระตุ้นการหลั่งLHและFSHจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
Prolactin(RPL) >>ต่อมใต้สมองส่วนหน้า>>ควบคุมการเจริญเติบโตต่อมน้ำนม lactatlon
Human chorionic gonadotropin(hCG)>>มดลูก>>ควบคุมระดับฮอร์โมนอื่นในระยะตั้งครรภ์
Growth hormone(GH)>>ต่อมใต้สมองส่วนหน้า>>ควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะต่างๆและกระดูก
Thyrotropin(TSH)>>ต่อมใต้สมองส่วนหน้า>>ควบคุมขนาดและหน้าที่ของต่อมไทรอยด์
Adrenocortiicotropic hormone(ACTH)>>ต่อมใต้สมองส่วนหน้า>>ควบคุมขนาดและหน้าที่ของ adrenal cortex
Follicle stimulating hormone(FSH)>>ต่อมใต้สมองส่วนหน้>>กระตุ้นรังไข่ให้สร้างไข่และไข่สุก
Luteinizing hormone >>(LH)>>ต่อมใต้สมองส่วนหน้า>>กระตุ้นอัณฑะและรังไข่
Parathyroid>>hormone(PTH)>>ต่อมพาราไทรอยด์>>เพิ่มระดับแคลเซียมในเลือดและการขับถ่ายฟอตเฟตที่ได้
2.3 Steroid hormone
Aldosterone>>เปลือกต่อมหมวกไต>.>ควบคุมการขขับถ่ายเกลือแร่ที่ไต
Cortisol>>เปลือกต่อมหมวกไต>>ควบคุมการใช้คาร์โบไฮเดรต
Testosterone>>อัณฑะ>>ควบคุมลักษณะเพศชาย
Estradiol>>รังไข่/รก>>ควบคุมลักษณะเพศหญิง
Progesterone>>รังไข่/มดลูก>>ควบคุมการเจริญและการตกไข่ในเพศหญิง
-
- การคัดหลั่งและการขนส่งฮอร์โมน
การคัดหลั่งฮอร์โมน
ระดับฮอร์โมนในเลือดขึ้นกับ อัตราการหลั่งและค่าครึ่งชีวิตของฮอร์โมน เพปไทด์ / โปรตีนฮอร์โมนเช่น GnRH , lnsulin , GH>>เก็บใน secretory granule อาศัยสัญญาณมากระตุ้น >> ปลดปล่อยออกนอกเซลล์ สเตอรอยด์ฮอร์โมน>>ขับออกเซลล์ได้ทันทีที่สร้างเสร็จ
การขนส่งฮอร์โมน
เพปไทด์ฮอร์โมน : ขนส่งอิสระ
สเตอรอยด์ฮอร์โมน : ขนส่งไปกับโปรตีนที่อยู่ใน Plasma เช่น Globulin , Aldumin
ค่าครึ่งชีวิตของฮอร์โมน : สำคัญในการรักษาผู้ป่วยโดยการใช้ฮอร์โมน คำนวน + ความถี่ ที่จะให้ผู้ป่วย>> เพื่อรักษาระดับฮอร์โมนให้คงที่
เพปไทด์ฮอร์โมน เช่น ACTH , GH , PTH , LH
-ค่าครึ่งชีวิตสั้น -มีประโยชน์ต่อการติดต่อรักษาโรค
=ค่าครึ่งชีวิต<20นาที่= ต้องเจาะเลือดทุก 10นาที เป็นเวลา 8-24 ชั่วโมง
สเตอรอยด์ฮอร์โมน : มีค่าครึ่งชีวิตยาว เพราะมีการจับกับโปรตีน
ค่าครึ่งชีวิตของฮอร์โมน : สำคัญในการรักษาผู้ป่วยโดยการใช้ฮอร์โมน
ฮอร์โมนที่เป็นอนุพันธ์ของกรดอมิโน >>Thyroxine
T4 =ค่าครึ่งชีวิต 7 วัน ใช้เวลา 1 เดือน เพื่อทำให้ระดับฮอร์โมนอยู่ในเกณฑ์คงที่(ให้ครั้งเดียวก็เพียงพอ)
Triiodothyronine , T3 = ค่าครึ่งชีวิต1วัน
ต้องใช้ฮอร์โมนแก่ผู้ป่วย 2-3 ครั่งต่อวัน
4.การออกฤทธิ์ของฮอร์โมน
- ตัวรับที่อยู่บนผิวเซลล์ (cell surface receptor )
1.1 G protein-couple receptor ได้แก่ prostsGlandins , ACTH , Glucagon < PTH , TSH , LH
-
1.3 Cytokine receptor ได้แก่ GH , Prolactin
- ตัวรับที่อยู่ในเซลล์ (Nuclear receptor )
-
หน้าที่ของโมฮอร์โมน
- การเจริญเติบโต : ฮอร์โมนและภาวะโภชนาการเป็นปัจจัยหลักในการเจริญเติบโตของร่างกาย
รูปร่างเตี้ย แคระ : ขาด GH , Hypothyroidism
- การรักษาภาวะธำรงดุุล : ฮอร์โมนทุกตัวมีผลต่อความสมดุลของร่างการ
-
-
-
-
-
- การจำแนกตาม สารชีวโมเลกุลหลักที่ใช้สังเคราะห์ฮอร์โมน
-