Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงการควบคุมการเจริญเติบโต และเมตาบอลิซึมของต่อมไร้ท่อ -…
การเปลี่ยนแปลงการควบคุมการเจริญเติบโต
และเมตาบอลิซึมของต่อมไร้ท่อ
1.แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับ
การทำงานของต่อมไร้ท่อ
การทำงานของไฮโปธาลามัส
และต่อมพิทูอิทาริ
การทำงานของไฮโปธาลามัสและต่อมพิทูอิทาริมีความสัมพันธ์กันทางด้านกายวิภาคและหน้าที่
เกิดความผิดปกติที่ไฮโปธาลามัสจะแสดงออกโดยมีความผิดปกติของการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมพิทูอิทาริ
ไฮโปธาลามัส เป็นบริเวณที่อยู่ในสมองใกล้กับ Optic Chiasm ติดกับ ต่อมพิทูอิทาริทาง pituitary stalk และต่อมพิทูอิทาริเป็นต่อมที่ฐานของ สมองตั้งอยู่บนกระดูก sphenoid ที่เป็นแอ่ง เรียกว่า sella turcica
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง(pituitary)
แบ่งเป็น 3 ส่วน
1.ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Anterior pituitary)
1.Thyroid-stimulating hormone (TSH)
2.Adrenocorticotropic hormone (ACTH)
3.Growth hormone (GH)
4.Follicle stimulating hormone (FSH)
5.Luteinizing hormone (LH)
6.Prolactin (PRL)
7.Melanocytes-stimulating hormone (MSH)
2.ต่อมใต้สมองส่วนกลาง (intermidiate)
Oxytocin
3.ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (Posterior pituitary)
Antidiuretic hormone (ADH)
การทำงานของ Hypothalamus และ Pituitary gland
ภาวะที่ต่อมทำหน้าที่มาก(excessiveofhyperfunction)
หรือไม่เพียงพอ (insufficiency or deficiency or hypofunction)
2.กลไกการทำหน้าที่และการเปลี่ยนแปลง
ของ Anterior pituitary glan
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (anterior pituitary) หรืออะดิโนไฮโปไฟซิส (adenohypophysis) ประกอบด้วยส่วนที่อยู่ห่างไกลออกไป เรียกว่าพาร์ส ดิสตาลิส (pars distalis) ซึ่งเป็นส่วนใหญ่ของต่อม ส่วนที่มีลักษณะเป็นท่อเรียกว่าพาร์ส ทูเบอราลิส (pars tuberalis) และส่วนที่อยู่ตรงกลาง เรียกว่าพาร์ส อินเทอร์มีเดีย (pars intermedia) ซึ่งไม่มีบทบาทแล้วในมนุษย์ แต่มีบทบาทในสัตว์
การเปลี่ยนแปลงการทำงานของฮอร์โมนจาก
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
1.ความผิดปกติที่เกิดจากการสร้างฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้ามาก(Hyperpituitarism)
1.การหลั่ง Growth hormone มากผิดปกติ
ส่วนใหญ่เกิดจากการมีเน้ืองอกที่ Pituitary gland ถ้าเกิดในเด็กเรียกว่า Gigantismเกิดในผู้ใหญ่เรียกAcromegaly
สาเหตุของการเกิด acromegalyและgigantism
1.) มีก้อนเน้ืองอก (adenoma) ที่ต่อมใต้สมอง
2.)ต่อมใต้สมองโต(hyperplasia)
3.) มีความผิดปกติของฮอร์โมนที่หลั่งจาก Hypothalamus
Signs and symptoms
มีการเปลี่ยนแปลงของกระดูก กระดูกอ่อนและ เน้ือเยื่อ
มักพบท่ีใบหนา้ และกะโหลกศีรษะ หน้าผาก กว้าง
จมูกใหญ่ คางใหญ่ ขากรรไกรล่างยื่นออกมา มือเท้าใหญ่และหนาข้ึนโดยเฉพาะนิ้วมือ
2.การหลั่งACTH มากผิดปกติ (Cushing’s disease)
มีการหลั่ง ACTH จำนวนมากจากต่อม Pituitary ไป กระตุ้นให้ต่อมหมวกไตชั้นนอกโตทงั 2 ข้างและสร้าง cortisol ออกมาทำให้เกิดกลุ่มอาการคุชชิ่ง
3.การหลั่ง Prolactin มากผิดปกติ (Hyperprolactinemia)
เกิดจากหลายสาเหตุ มักเกี่ยวข้องกับการมีประจำเดือนและ การมีน้ำนมไหล (galactorrhea) เป็นสิ่งบ่งชี้ว่ามีเน้ืองอกท่ี Pituitary gland หรือโรคของ Hypothalamus
สาเหตุการหลั่งมาก
1.สภาวะทางด้านร่างกาย
2.จากยา
3.ภาวะของโรค
4.การหลั่ง Thyrotropin มากผิดปกติ
การหลั่ง TRH ออกมากจากเน้ืองอกของ (Pituitary adenoma)พบน้อยมากผู้ป่วยมัก มีอาการของการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ มากร่วมกับมีคอพอก(goiter)
5.การหลั่งGonadotropinมากผิดปกติ
เกิดจากเน้ืองอกของเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ทำให้ผู้ป่วยมีอาการผิดปกติทางสายตา การรักษาจึงใช้วิธีผ่าตัดและตามด้วยรังสีรักษา
ความผิดปกติที่เกิดจากการสร้างฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้าน้อย (Hypopituitarism)
Signs and symptoms
1) การขาด growth hormone ในผู้ใหญ่ไม่มีอาการชัดเจน ในเด็กที่ขาดGHจะเจริญเติบโตช้าเตี้ยแคระ
แกรน(dwarfism)
2.)การขาดACTHมีผลทำใหเ้กิดการขาดฮอร์โมน cortisol ทำให้มีอาการอ่อนเพลีย น้ำหนักลด คลื่นไส้
3.) การขาด TSH มีอาการอ่อนเพลีย ทนความร้อนไม่ได้ หนังตาบวม
4.) การขาด gonadotropin ในหญิงทำให้ขาดประจาเดือน เป็นหมัน ในชายความต้องการทางเพศลดลง
5.) การขาด prolactin หลังจากการคลอด จะทำให้มีน้ำนมเลี้ยงลูก ซึ่งเป็นลักษณะสำคัญของ sheehan’ s syndrome
3.กลไกการทำหน้าที่และการเปลี่ยนแปลงของ
Posterior pituitary gland
1.ADH deficiency causes Diabetes Insipidus
การขาด ADH
1.เป็น Diabetes insipidus (DI)
2.ปัสสาวะไม่เข้มข้นปัสสาวะเจือจางมาก
3.เกิดจาก Tumors of periventricular area
Signs and symptoms
1.) ปัสสาวะจำนวนมาก 2.) กระหายน้ำ 3.) ดื่มน้ำมาก
2.Syndrome of inappropriate ADH secretion (SIADH)
-เกิดจากการมี ADH มากเกินความต้องการของร่างกาย
-ทำใหน้ำออกจากร่างกายลดลงเกิดภาวะNaในเลือดต่ำ
Signs and symptoms
1.)เป็นน้อย(Naในเลือด130-135meq/L):เบื่ออาหารคลื่นไส้อาเจียน
2.) เป็นปานกลาง (Na ในเลือด 120-130 meq/L): ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน สับสน น้ำหนัก เพิ่ม เบื่ออาหาร ปวดท้อง
3.)เป็นรุนแรง(Naในเลือดน้อยกว่า 120meq/L):ชักและไม่รู้สึกตัว
4.กลไกการทำหน้าที่และการเปลี่ยนแปลงของ Adrenal gland
Adrenal Cortex
1.Zona glomerulosa—>mineralocorticoids (aldosteron)
2.Zona fasciculata—>glucocorticoids (cortisol)
3.Zona reticularis—>estrogens & androgens
ความผิดปกติเกิดจาก:hyperfunction &hypofunction&tumors
Adrenal Medulla
สร้าง/หลั่ง catecholamines
ความผิด ปกติเกิดจาก tumors
Cushing’s Syndrome
สาเหตุเกิดจาก
1.) ACTH*secreting pituitary microadenoma, few macroadenomas, OR hyperplasia (CUSHING’s DISEASE) ทำให้มีการหลั่ง glucocorticoid มากกว่าปกติ
2.) Adrenal tumor or hyperplasia
3.) Steroid Therapy
ลักษณะอาการ
-Obesity/moon face -ขนดก,ประจำเดือนไม่ปกติ
-Osteoporosis -ผิวคล่ำ -Hypertension
-Diabetes -มีภาวะเสี่ยงต่อการติดเชื่อสูง
5.กลไกการทำหน้าที่และการเปลี่ยนแปลง
ของ Thyroid gland
Hormones of the Thyroid Gland
1.Triiodothyronine (T3)
Increases energy and protein metabolism rate
2.Thyroxine (T4)
-Principle hormone
-Increases energy and protein metabolism rate
3.Calcitonin
-Regulates calcium metabolism
-Works with parathyroid hormone and vitamin D
Disorders of the Thyroid Gland
1.Goiter is enlargement of thyroid gland
-Simple goiter -Adenomatous or nodular goiter
2.Hypothyroidism
Infantile hypothyroidism (cretinism)
3.Myxedema
4.Hyperthyroidism
-Graves disease -Thyroid storm
5.Thyroiditis
-Hashimoto disease
6.Hypothyroidism (Hashimoto’s disease, Goiter)
7.Hyperthyroidism (Graves’ disease)
6.กลไกการทำหน้าที่และ
การเปลี่ยนแปลงของParathyroid glan
กระตุ้นการสร้างเซลล์ osteoclasts ที่ทำหน้าที่สลายกระดูก โดยวิตามินดีจะรวมกับพาราทอร์โมน ช่วยสลายแคลเซียมออกจากกระดูก เพื่อรักษาระดับปกติของแคลเซียมในเลือด
เพิ่มการดูดแคลเซียมกลับจากท่อหน่วยไตเข้าสู่เลือด ทำให้การขับถ่ายแคลเซียมไปกับปัสสาวะลดลง และมีระดับแคลเซียมในเลือดเพิ่มขึ้น
กระตุ้นให้มีการสังเคราะห์วิตามินดีเพิ่มขึ้น เพื่อทำให้มีการดูดซึมแคลเซียมที่ลำไส้เล็กเพิ่มขึ้น
ลดระดับของฟอสเฟตที่กระดูก ไต และลำไส้เล็ก กระตุ้นการขับฟอสเฟตออกไปกับปัสสาวะ
1.Calcium Metabolism
Calcium balance requires
-Calcitriol (dihydroxycholecalciferol)
-Produced by modifying vitamin D in liver then in kidney -Parathyroid hormone -Calcitonin
2.Disorders of the Parathyroid Glands
-Tetany -Inadequate production of parathyroid hormone (PTH) -Fragile bones and kidney stones
-Excess production of parathyroid hormone (PTH)