Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สําหรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ปี - Coggle Diagram
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สําหรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ปี
การจัดประสบการณ์
๑. หลักการจัดประสบการณ์
๑.๑ จัดประสบการณ์การเล่น เรียนรู้หลากหลาย เพื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวม
๑.๒ เน้นเด็กเป็นสำคัญ สนองความต้องการความสนใจ ความแตกต่างและบริบทอย่างสมดุลและต่อเนื่องของสังคมที่เด็กอาศัยอยู่
๑.๓ จัดให้เด็กได้รับการพัฒนา โดยให้ความสำคัญกับกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาการ
๑.๔ จัดการประเมินพัฒนาการให้เป็นกระบวนการอย่างต่อเนื่อง และเป็นส่วนหนึ่งของการจัดประสบการณ์และนำผลประเมินมาพัฒนาอย่างต่ิเนื่อง
๒.แนวทางการจัดประสบการณ์
๒.๑จัดให้สอดล้องกับจิทยาพัฒนาการ/การทำงานของสมอง อายุ วุฒิภาวะ พัฒนาก่ร เพื่อพัฒนาได้เต็มศักยภาพ
๒.๒จัดให้สอดคล้องกับแบการเรียนรู้ ได้ลงมือทำ ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง5
๒.๓บูรณาการกิจกรรม/ทักษะ/สาระ
๒.๔ให้เด็กริเริ่มคิด/วางแผน/ตัดสินใจ/ลงมือทำ/นำเสนอความคิด
๒.๕ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับเด็ก/ผู้ใหญ่ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และทำกิจกรรมแบบร่วมมือ
๒.๖ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อและแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลายสอดคล้องกับวิถีชีวิตบริบทสังคม
๒.๗ส่งเสริมลักษณนิสัยที่ดี/ทักษะในชีวิตประจำวัน ตามเศษฐกิจพอเพียง คุณธรรมจริยธรรม วินัย
๒.๘สอนทั้งแบบใช้แผนและไม่ใช้แผน
๒.๙ทำสารนิทัศน์พัฒนาการเด็กรายบุคคลเพื่อพัฒนาและวิจัยในชั้นเรียน
๒.๑0ให้พ่อแม่ครอบครัว/ชุมชุนร่วมวางแผน สนับสนุนสื่อ แหล่งเรียนรู้ ร่วมกิจกรรม ประเมินพัฒนาการ
๓.การจัดกิจกรรมประจำวัน
๓.๑การจัดกิจกรรมประจำวัน
๑.ใช้เวลาให้เหมาะสมกับวัย
วัย ๓-๔ ปี มีความสนใจประมาณ ๘-๑๒ นาที
วัย ๔-๕ ปี มีความสนใจประมาณ ๑๒-๑๕ นาที
วัย 4-5 ปี มีความสนใจประมาณ ๑๕-๒๐ นาที
๒.กิจกรรมไม่ควรใช้เวลาเกิน20นาที
๓.กิจกรรมอิสระ/เสรี ช่วยให้เด็กตัดสินใจ แก้ปัญหา คิดสร้างสรรค์ ใช้เวลา40-60นาที
๔.กิจกรรมมีความสมดุลทั้งในห้อง/นอกห้อง เดี่ยว/กลุ่มให้ครบ
๓.๒ ขอบข่ายของกิจกรรรมประจําวัน
๓.๒.๑ การพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่
กลางแจ้ง
เคลื่อนไหว
พัฒนาความแข็งแรง การทรงตัว การยืดหยุ่น
๓.๒.๒การพัฒนากล้ามเนื้อเล็ก มือ-นิ้วมือ
๓.๒.๓การพัฒนาอารมณ์จิตใจ ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม
๓.๒.๔การพัฒนาสังคมนิสัย
แสดงออกเหมาะสม
ปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
ปฏิสัมพันธ์ดี
๓.๒.๕การพัฒนาการคิด
คิดแก้ปัญหา/รวบยอด
คิดเชิงเหตุผล
คณิต
วิทย์
เกมส์การศึกษา
๓.๒.๖การพัฒนาภาษา
สื่อสาร/ตั้งคำถามได้
ปลูกฝังให้กล้าแสดงออก
ใช้ภาษาเหมาะสม
๓.๒.๗การส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
กิจกรรม
ศิลปะสร้างสรรค์
ดนตรี
ประดิษฐ์
บทบาทสมมติ
การประเมินพัฒนาการ
๑. วางแผนการประเมินพัฒนาการอย่างเป็นระบบ
๒. ประเมินพัฒนาการเด็กครบทุกด้าน
๓. ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคลอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องตลอดปี
๔. ประเมินพัฒนาการตามสภาพจริงจากกิจกรรมประจำวันด้วยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย ไม่ควรใช้แบบทดสอบ
๕. สรุปผลการประเมิน จัดทำข้อมูลและนำผลการประเมินไปใช้พัฒนาเด็ก