Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงการควบคุมการเจริญเติบโต และเมตาบอลิสมของต่อมไร้ท่อ - Coggle…
การเปลี่ยนแปลงการควบคุมการเจริญเติบโต และเมตาบอลิสมของต่อมไร้ท่อ
Pituitary gland
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Anterioi pituitary gland)
ควบคุมการหลั่งฮอร์โมนโดย Hyothalamus
กลไกการทำหน้าที่และการเปลี่ยนแปลงของ Anterior pituitary gland
ฮอร์โมนที่สร้างจาก hypothalamus ที่ควบคุมการทำงานของต่อมใต้สมองส่วนหน้า
Corticotropin-releasing hormone (CRH)
Thyrotropin-releasing hormone (TRH)
Gonadotropin-releasing hormone (GnRH)
Growth hormone-releasing hormone (GRH)
Growth hormone-inhibiting hormone (GIH)
Prolactin-releasing factor (PRF)
Prolactin-inhibiting factor (PIF)
การควบคุมการหลั่งฮอร์โมนและการทำงานของต่อมใต้สมองส่วนหน้า
การเปลี่ยนแปลงการทำงานของฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ความผิดปกติที่เกิดจากการสร้างฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้ามาก
(Hyperpituitarism)
หลั่ง Growth hormone มากผิดปกติ
เกิดจากการมีเน้ืองอกที่ Pituitary gland
เกิดในเด็ก
เรียกว่า Gigantism
เกิดในผู้ใหญ่ เรียกว่า Acromegaly
4 more items...
สาเหตุของการเกิด acromegaly และ gigantism
มีก้อนเน้ืองอก (adenoma) ที่ต่อมใต้สมอง
ต่อมใต้สมองโต (hyperplasia)
มีความผิดปกติของฮอร์โมนท่ีหลั่งจาก Hypothalamus
หลั่ง ACTH มากผิดปกติ
จากต่อม Pituitary ไปกระตุ้นให้ต่อมหมวกไตชั้นนอกโตทั้ง 2 ข้างและสร้าง cortisol
ออกมา
เกิด Cushing’s disease
หลั่ง Prolactin มากผิดปกติ
เกิด Hyperprolactinemia
การวินิจฉัย
1 more item...
ลักษณะทางคลินิก
2 more items...
การรักษา
3 more items...
สาเหตุ
มักเกี่ยวข้องกับการมีประจำเดือนและการมีน้ำนมไหล (galactorrhea) เป็นสิ่งบ่งชี้ว่ามีเน้ืองอกที่ Pituitary gland หรือโรคของ Hypothalamus สาเหตุการหลั่งมาก
สาเหตุการหลั่งมาก
3 more items...
หลั่ง Gonadotropin มากผิดปกติ
เกิดจากเน้ืองอกของเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ทำให้ผู้ป่วยมีอาการผิดปกติทางสายตา การรักษาจึงใช้วิธีผ่าตัดและตามด้วยรังสีรักษา
หลั่ง Thyrotropin มากผิดปกติ
การหลั่ง TRH ออกมากจากเน้ืองอกของ (Pituitary adenoma)
พบน้อยมาก ผู้ป่วยมักมีอาการของการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ มากร่วมกับมีคอพอก (goiter)
ความผิดปกติที่เกิดจากการสร้างฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้าน้อย (Hypopituitarism)
สาเหตุเกิด
เน้ืองอกที่ Hypothalamus
หลอดเลือดเลี้ยง Pituitary gland ผิดปกติ
การได้รับบาดเจ็บ
ไม่ทราบสาเหตุ
ความผิดปกติแต่กำเนิดหรือกรรมพันธุ์
เน้ืองอกที่ Pituitary gland
การอักเสบ
อาการและอาการแสดง
การขาด ACTH มีผลทำให้เกิดการขาดฮอร์โมน cortisol ทำให้มีอาการอ่อนเพลียน้ำหนักลดคลื่นไส้
การขาด TSH มีอาการอ่อนเพลีย ทนความร้อนไม่ได้ หนังตาบวม
การขาด gonadotropin ในหญิงทำให้ขาดประจำเดือน เป็นหมัน ในชายความต้องการทางเพศลดลง
การขาด prolactin หลังจากการคลอด จะทำให้ไม่มีน้ำนมเลี้ยงลูก ซึ่งเป็นลักษณะสำคัญของ sheehan’ s syndrome
การขาด growth hormone ในผู้ใหญ่ไม่มีอาการชัดเจน ในเด็กที่ขาด GH จะเจริญเติบโตช้า เตี้ยแคระแกรน (dwarfism)
การวินิจฉัย
อาศัยประวัติ และการตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น ถ่ายภาพรังสีกะโหลกศีรษะ ตรวจดูระดับฮอร์โมน
การรักษา
การให้ฮอร์โมนทดแทน
การผ่าตัด
การใช้รังสีรักษา
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (Posterior pituitary gland)
กลไกการทำหน้าที่และการเปลี่ยนแปลงของ Posterior pituitary gland
ADH deficiency causes Diabetes Insipidus
การขาด ADH
เป็น Diabetes insipidus (DI)
ปัสสาวะไม่เข้มข้น ,ปัสสาวะเจือจางมาก
เกิดจาก Tumors of periventricular area
สาเหตุของโรคเบาจืด
Tumors of periventricular area, Head injuries
Nephrogenic DI คือมีความผิดปกติที่ไตแต่กำเนิด
PsychogenicDI คือมีความผิดปกติทางด้านอารมณ์
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะจำนวนมาก
กระหายน้ำ
ดื่มน้ำมาก
การวินิจฉัย
ประวัติ: การได้รับบาดเจ็บหรือผ่าตัดบริเวณศีรษะ
จากการตรวจร่างกาย : มีภาวะขาดน้ำ ผิวแห้ง ตาลึก น้ำหนักลด
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ : ตรวจปัสสาวะตรวจเลือด
การรักษา
การให้ฮอร์โมนทดแทน : Vasopressin ตลอดชีวิต
การใช้ยาท่ีไม่ใช่ฮอร์โมน : sulfonylurea, chlorpropamide
การป้องกันภาวะขาดน้ำ
Syndrome of inappropriate ADH secretion (SIADH)
เกิดจากการมี ADH มากเกินความต้องการของร่างกาย
ทำให้น้ำออกจากร่างกายลดลงเกิดภาวะ Na ในเลือดต่ำ
อาการและอาการแสดง
เป็นน้อย (Naในเลือด130-135meq/L) : เบื่ออาหารคลื่นไส้อาเจียน
เป็นปานกลาง (Na ในเลือด 120-130 meq/L) : ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน สับสน น้ำหนักเพิ่ม เบื่ออาหาร ปวดท้อง
เป็นรุนแรง (Na ในเลือดน้อยกว่า 120 meq/L) : ชัก และไม่รู้สึกตัว
สาเหตุของ SIADH
เน้ืองอกชนิดร้ายแรงท่ีทำให้มีการหลั่ง ADH โดยอัตโนมัติ
ความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลาง
จากยา : chlorpropamide
โรคของปอด
การรักษา
จำกัดดื่มน้ำวันละ 800-1,000 มล.
รักษาด้วยยา
Adrenal gland
Adrenal Hormones
การกระตุ้นจากศูนย์ควบคุมส่วนบน
Adrenocortical Hyperfunction
There are 3 syndromes associated with hyperfunction
Cushing’s Syndrome & Cushing’s Disease
สาเหตุ
ACTH*secreting pituitary microadenoma, few macroadenomas, OR hyperplasia (CUSHING’s DISEASE) ทำให้มีการหลั่ง glucocorticoid มากกว่าปกติ
Adrenal tumor or hyperplasia
Steroid Therapy
ลักษณะอาการ
Obesity/ moon face
ขนดก, ประจำเดือนไม่ปกติ
ผิวคล้ำ
Hypertension
Diabetes
มีภาวะเสี่ยงต่อการติดเชื่อสูง
Osteoporosis
Addison’s disease
Chronic Hypoadrenalism (Addison)
เกิดจากการหลั่ง cortisol น้อยเกินไป (Hypocorticism)
Adrenogenital Syndrome
Thyroid gland
กลไกการทำหน้าที่และการเปลี่ยนแปลงของ Thyroid gland
Hormones of the Thyroid Gland
Thyroxine (T4)
Principle hormone
Increases energy and protein metabolism rate
Calcitonin
Regulates calcium metabolism
Works with parathyroid hormone and vitamin D
Triiodothyronine (T3)
Triiodothyronine (T3)
ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์
คอพอก Goiter
คือการขยายตัวของต่อมไทรอยด์
Simple goiter
Adenomatous or nodular goiter
Hypothyroidism
Infantile hypothyroidism (cretinism)
Myxedema
ภาวะไทรอยด์ทำงานต่ำในเด็กโตหรือผู้ใหญ่
Gull disease
Characterized by slowing of physical and mental activity
การสะสมของ matrix (ไกลโคซามิโนไกลแคนและกรดไฮยาลูโรนิก) ในผิวหนัง เนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง และบริเวณอวัยวะภายใน อาการบวมน้ำ, การขยายและการทำให้ใบหน้าหยาบ
Measurement of serum TSH level is the most sensitive screening test
Hyperthyroidism
Graves disease
Thyroid storm
Thyroiditis
Hashimoto disease
Parathyroid gland
กลไกการทำหน้าที่และการเปลี่ยนแปลงของ Parathyroid gland
Parathyroid Hormone
Parathyroid hormone (PTH)
PTH กระตุ้นการสลายของกระดูกโดยเซลล์สร้างกระดูก ซึ่งจะปล่อยแคลเซียมเข้าสู่กระแสเลือด
เพิ่มความเข้มข้นของแคลเซียมไอออนในเลือดและลดความเข้มข้นของฟอสเฟตไอออน
PTH ยังส่งผลต่อไตในการรักษาแคลเซียมและสาเหตุ
เพิ่มการดูดซึมแคลเซียมในลำไส้
Calcitonin and PTH exert opposite effects in regulating calcium ion levels in the blood.
HYPOPARATHYROIDISM
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานของต่อมไร้ท่อ
การทำงานของ Hypothalamus และ Pituitary มีความสัมพันธ์กันทางด้านกายวิภาคและหน้าที่
เกิดความผิดปกติที่ Hypothalamus จะแสดงออกโดยมีความผิดปกติของการ หลั่งฮอร์โมนจาก Pituitary gland
ระบบต่อมไร้ท่อทำหน้าที่สัมพันธ์กับระบบประสาทในการควบคุมและประสานการทำงานของร่างกายที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโต เมทาบอลิสม การสืบพันธุ์รวมถึง การรัก ษาความสมดุลของน้ำในร่างกาย
หลั่งฮอร์โมนออกจากต่อมที่มีอยู่ตามร่างกาย ไปตามกระแสเลือดไปสู่เซลล์เน้ือเยื่อ และเนื้อเยื่อเป้าหมาย (target cell) ให้ทำงานร่วมกันอย่างมีความหมาย
ในภาวะปกติฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมไร้ท่อจะหลั่งออกมาเป็นช่วงๆ และอยู่ในกระแสเลือดช่วงเวลาหนึ่ง
ไปกระตุ้น (stimuli) หรือ ยับบยั้ง (inhibit)