Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ - Coggle Diagram
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค
นิ่วในกระเพาะปัสสาวะหรือ bladder stone เกิดได้2รูปแบบ เป็นนิ่วจากไตหรือท่อไตที่หลุดลงมาสะสมเพิ่มขนาดในกระเพาะปัสสาวะ
นิ่วในกระเพาะปัสสาวะยังอาจเกิดได้จากสาเหตุอื่นๆ ได้แก่ มีการอักเสบติดเชื้อซำ้ๆในระบบทางเดินปัสสาวะ มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารบางชนิดมากเกินไปทำให้ปัสสาวะมีสารตกตะกอนหรือเกลือแร่เข้มข้นมาก เช่น หน่อไม้ฝรั่ง ยอดผัก
นิ่วในกระเพาะปัสสาวะเป็นโรคมักพบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิงเนื่องจากระบบทางเดินปัสสาวะเป็นโรคที่มักพบในผู้ชายมีขนาดยาวและคดเคี้ยวกว่า ตะกอนนิ่วจึงมีโอกาสตกค้างได้มากกว่า
อาการของนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
-การปัสสาวะผิดปกติคล้ายกับอาการของโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ เช่น ปัสาวะบ่อย ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะมีเลือดปน
-ปัสสาวะไม่ออกหรือออกกระปริดกะปรอย คือปัสสาวะไหลๆหยุดๆ
-มีเม็ดนิ่วลักษณะคล้ายกรวดทรายปนออกมากับปัสสาวะ
หากเสียดสีกับผนังกระเพาะปัสสาวะนิ่วไปครูดหรือท่อปัสสาวะจนเกิดแผล อาจทำให้เกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะซึ่งผู้ป่วยอาจมีไข้ร่วมด้วย
การตรวจและวินิจฉัยโรคนิ่วกระเพาะปัสสาวะ
แพทย์สามารถตรวจและวินิจฉัยโรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะได้โดยการซักประวัติและตรวจร่างกายโดยเฉพาะบริเวณระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง ร่วมกับการตรวจปัสสาวะ การเอกซเรย์ภาพช่องท้องในส่วนของไตและกระเพาะปัสสาวะ
การรรักาาโรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
การเอานิ่วออกในกรณีที่ก้อนนิ่วมีขนาดเล้กมากแพทย์อาจเริ่มจากการแนะนำให้ผู้ป่วยดื่มนำ้มากๆเพื่อให้ร่างกายขับนิ่วออกมาเองตามธรรมชาติ แต่โดยทั่วไปแล้วการเอานิ่วออกสามารถทำได้3วิธี 1.การส่องกล้องผ่านท่อปัสสาวะ 2.การสลายนิ่วด้วยคลื่นกระแทก 3.การผ่าตัด ใช้ในกรณีที่ก้อนนิ่วมีขนาดใหญ่
รักษาที่สาเหตุของโรค เนื่องจากการเอานิ่วออกเพียงอย่างเดียวโดยไม่แก้ไขที่ต้นเหตุของการเกิดโรคอาจทำให้ผู้ป่วยกลับมาเป็นนิ่วซำ้ได้อีก
หากนิ่วเกิดจากการมีปัสสาวะคั่งค้างในกระเพาะปัสสาวะ แพทย์ต้องตรวจวินิจฉัยให้แน่ชัดว่าการคั่งค้างนั้นเกิดจากอะไรแล้วทำการรักาาาไปพร้อมกัน เช่น ผ่าตัดต่อมลูกหมากโดยใช้วิธีส่องกล้อง
หากนิ่วเกิดจากการที่กระเพาะปัสสาวะทำงานผิดปกติ เช่น บีบตัวไม่ดี ผู้ป่วยอาจจำเป้นต้องใช้สายสวนในการช่วยปัสสาวะ
การดูแลตัวเองของผู้ป่วย
-ดื่มนำ้ให้มากและให้ได้ปริมาณตามคำแนะนำของแพทย์
-ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีสารประกอบของนิ่วสูง
-ปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์และพยาบาลอย่างเคร่งครัดกรณีที่ต้องสวนปัสสาวะด้วยตนเอง
-เข้ารับการตรวจติดติดตามโรคตามกำหนดทุกครั้ง โดยแพทย์อาจนัดติดตามผลการรักษาทุก3-6เดือน