Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงการควบคุมการเจริญเติบโต และเมตาบอลิซึมของต่อมไร้ท่อ,…
การเปลี่ยนแปลงการควบคุมการเจริญเติบโต
และเมตาบอลิซึมของต่อมไร้ท่อ
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานของต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อทำหน้าที่สัมพันธ์กับระบบประสาทในการควบคุมและประสานการ ทำงานของร่างกายที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโต เมทาบอลิสม การสืบพันธุ์รวมถึง
การรักษาความสมดุลของน้ำในร่างกาย
หลั่งฮอร์โมนออกจากต่อมที่มีอยู่ตามร่างกาย ไปตามกระแสเลือดไปสู่เชลล์เนื้อเยื่อและเนื้อเยื่อเป้าหมาย (target cell) ให้ทำงานร่วมกันอย่างมีความหมาย
ในภาวะปติฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมไร้ท่อจะหลั่งออกมาเป็นช่วง ๆและอยู่ในกระแสเลือดช่วงเวลาหนึ่ง
ไปกระตุ้น (stimuli) หรือ ยับยั้ง (inhibit)
การทำงานของไฮโปธาลามัสและต่อมพิทูอิทาริ
ภาวะที่ต่อมทำหน้าที่มาก(excessiveofhyperfunction) หรือไม่เพียงพอ (insufficiency or deficiency or hypofunction)
Pituitary gland
•Pea sized mass of glandular tissue
• Liesinsellaturcica
•Slender stalk: Infundibulum connects pituitary gland to hypothalamus
• 2 parts : Adenohypophysis (Anterior pituitary)
Neurohypophysis (Posterior pituitary)
การทำงานของ Pituitary gland และ Hypothalamus เตื้อ เยื่ออวัยวะเป้าหมายและกลไกย้อนกลับ
กลไกการทำหน้าที่และการเปลี่ยนแปลงของ Anterior pituitary gland
การควบคุมการหลั่ง ฮอร์โมนของต่อมใต้สมองส่วนหน้า ที่สร้างจาก hypothalamus
Corticotropin-releasing hormone (CRH)
Thyrotropin-releasing hormone (TRH)
Gonadotropin-releasing hormone (GnRH)
Growth hormone-releasing hormone (GRH)
Growth hormone-inhibiting hormone (GIH)
Prolactin-releasing factor (PRF)
7.prolactin-inhibiting factor (PIF)
ความผิดปกติที่เกิดจากการสร้างฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้ามาก
(Hyperpituitarism)
การหลั่ง Growth hormone มากผิดปกติ
เกิดจากการมีเน้ืองอกที่ Pituitary gland ถ้าเกิดในเด็ก
เรียกว่า Gigantism เกิดในผู้ใหญ่เรียกAcromegaly
การหลั่ง ACTH มากผิดปกติ (Cushing’s disease)
มีการหลั่ง ACTH จานวนมากจากต่อม Pituitary ไป กระตุ้ยให้ต่อมหมวกไตชั้นนอกโตทั้ง 2 ข้างและสร้าง cortisol
ออกมาทำให้เกิดกลุ่มอาการคุชชิ่ง
การหลั่ง Prolactin มากผิดปกติ(Hyperprolactinemia)
เกิดจากหลายสาเหตุมัก เกี่ยวข้องกับ การมีประจำเดือนและการมีน้ำนมไหล (galactorrhea)
1.1 ในหญิงจะมีความผิดปกติของการมีประจำเดือน เกิดควบคู่ไปกับการมีน้ำนมไหล
1.2 ในชาย พบว่าความรู้สึกทางเพศลดลงหรือหมดไป บางรายพบเต้านมโตแบบผู้หญิงหรือมีน้ำนมไหล
การหลั่ง Thyrotropinมากผิดปกติ
การหลั่ง TRH ออกมากจากเน้ืองอกของ (Pituitary adenoma)พบน้อยมากผู้ป่วยยมักมีอาการของการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ มากร่วมกับมีคอพอก(goiter)
การหลั่ง Gonadotropin มากผิดปกติ
เกิดจากเน้ืองอกของเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ทำให้ผู่ป่วยมีอาการผิดปกติทางสายตา การรักษาจึงใช้วิธีผ่าตัดและตามด้วยรังสีรักษา
กลไกการทำหน้าที่และการเปลี่ยนแปลงของ Posterior pituitary gland
ADH deficiency causes Diabetes Insipidus
การขาด ADH
•เป็น Diabetes insipidus (DI)
•ปัสสาวะไม่เข้มข้นปัสสาวะเจือจางมาก
•เกิดจาก Tumors of periventricular area
Syndrome of inappropriate ADH secretion (SIADH)
เกิดจากการมี ADH มากเกินความต้องการของร่างกาย
-ทกใหน้ำออกจากร่างกายลดลงเกิดภาวะNaในเลือดต่ำ
กลไกการทำหน้าที่และการเปลี่ยนแปลงของ Adrenal gland
Adrenocortical Hyperfunction
1.) Cushing’s Syndrome & Cushing’s Disease
2.) Addison’s disease
3.) Adrenogenital Syndrome
กลไกการทำหน้าที่และการเปลี่ยนนแปลงของ Thyroid gland
Hormones of the Thyroid Gland
Triiodothyronine (T3)
Thyroxine (T4)
Calcitonin
Disorders of the Thyroid Gland
Goiter
Hypothyroidism
Myxedema
Hyperthyroidism
Thyroiditis
Parathyroid Hormone
Parathyroid hormone (PTH) increases blood calcium ion concentration and decreases phosphate ion concentration.
PTH stimulates bone resorption by osteoclasts, which releases calcium into the blood.
PTH also influences the kidneys to conserve calcium and causes
increased absorption of calcium in the intestines.
A negative feedback mechanism involving blood calcium levels
regulates release of PTH.
HYPOPARATHYROIDISM
• Surgicallyinduced
• Congenitalabsence
• Familialhypothyroidism
• Idiopathic hypothyroidism
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานของต่อมไร้ท่อ
การทำงานของไฮโปธาลามัสและต่อมพิทูอิทาริมีความสัมพันธ์กันทางต้านกายวิภาคและหน้าที่
เกิดความผิดปกติที่ไฮโปธาลามัส จะแสดงออกโดยมีความผิดปกติของการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมพิทูอิทาริ
ไฮโปธาลามัสเป็นบริเวณที่อยู่ในสมองใกล้กับ Optic Chiasm ติดกับ ต่อมพิทูอิทาริทาง pituitary stalk และต่อมพิทูอิทาริเป็นต่อมที่ฐานของ สมองตั้งอยู่บนกระดูก sphenoid ที่เป็นแอ่ง เรียกว่า sella turcica
นางสาวศศิวิมล จอมทิพย์
UDA6380058