Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงการควบคุมการเจริญเติบโตและเมตาบอลิซึมของต่อมไร้ท่อ, download…
การเปลี่ยนแปลงการควบคุมการเจริญเติบโตและเมตาบอลิซึมของต่อมไร้ท่อ
1.แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานของต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไรท่อ ทำหน้าที่สัมพันธ์กับระบบประสาทในการควบคุมและประสานการทำงานของร่างกายที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโต เมทาบอลิซึม การสืบพันธ์รวมถึงการรักษาความสมดุลของน้ำในร่างกาย
หลั่งฮอร์โมนออกจากต่อมที่มีอยู่ตามร่างกาย ไปตามกระแสเลือดไปสู่เซลล์เนื้อเยื่อ และเนื้อเยื่อเป้าหมาย (target cell) ให้ทำงานร่วมกันอย่างมีความหมาย
ในภาวะปกติฮอร์โมนที่สรา้งจากต่อมไร้ท่อจะหลั่งออกมาเป็นช่วงๆและ อยู่ในกระแสเลือดช่วงเวลาหนึ่ง
ไปกระตุ้น (stimuli) หรือ ยับยั้ง (inhibit)
การทำงานของไฮโปธาลามัสและต่อมพิทูอิทาริ
มีความสัมพันธ์กันทางด้านกายวิภาคและหน้าที่
เกิดความผิดปกติที่ไฮโปธาลามัส จะแสดงออกโดยมีความผิดปกติของการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมพิทูอิทาริ
ไฮโปธาลามัสเป็นบริเวณที่อยู่ในสมองใกล้กับ Optic Chiasm ติดกับต่อมพิทูอิทาริทาง pituitary stalk และต่อมพิทูอิทาริเป็นต่อมที่ฐานของสมองตั้งอยู่บนกระดูก sphenoid ที่เป็นแอ่ง เรียกว่า sella turcica
ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่พบบ่อย
Anterior pituitary
ทำงานน้อย
กว่าปกติ
Dwarfism
Hypopituitarism
ทำงานมาก
กว่าปกติ
Acromegaly
Gigantism
Posterior pituitary
ทำงานมาก
กว่าปกติ
Diabetes insipidus (DI)
ทำงานน้อย
กว่าปกติ
Syndrome inappropriate antidiuretic hormone (SIADH)
Adrenal
ทำงานมาก
กว่าปกติ
Cushing’s syndrome
ทำงานน้อย
กว่าปกติ
Adrenal insufficiency
Medulla
ทำงานมาก
กว่าปกติ
Pheochromocytoma
Cortex
ทำงานมาก
กว่าปกติ
Hyperaldosteronism
Adrenal virilism
ทำงานน้อย
กว่าปกติ
Addison’s disease
Thyroid
ทำงานน้อย
กว่าปกติ
Hypothyroidism
Myxedema
Cretinism
ทำงานมาก
กว่าปกติ
Hyperthyroidism
Grave’s disease
Thyrotoxicosis
Parathyroid
ทำงานมาก
กว่าปกติ
Hyperparathyroidism
ทำงานน้อย
กว่าปกติ
Hypoparathyroidism
กลไกการทำหน้าที่และการเปลี่ยนแปลงของ Anterior pituitary gland
ฮอร์โมนที่สร้างจาก hypothalamus ที่ควบคุมการทำงานของต่อมใต้สมองส่วนหน้า ได้แก่
Corticotropin-releasing hormone (CRH)
Thyrotropin-releasing hormone (TRH)
Gonadotropin-releasing hormone (GnRH)
Growth hormone-releasing hormone (GRH)
Growth hormone-inhibiting hormone (GIH)
Prolactin-releasing factor (PRF)
7.Prolactin-inhibiting factor (PIF)
การเปลี่ยนแปลงการทำงานของฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ความผิดปกติที่เกิดจากการสร้างฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้ามาก (Hyperpituitarism)
การหลั่ง Growth hormone มากผิดปกติ
ส่วนใหญ่เกิดจากการมีเนื้องอกที่ Pituitary gland
ถ้าเกิดในเด็ก เรียกว่า Gigantism
สาเหตุเกิดจาก
1.) มีก้อนเนื้องอก(adenoma) ที่ต่อมใต้สมอง
2.) ต่อมใต้สมองโต (hyperplasia)
3.) มีความผิดปกติของฮอร์โมนที่หลั่งจาก Hypothalamus
ถ้าเกิดในผู้ใหญ่เรียก Acromegaly
ลักษณะทางคลีนิค
มีอาการค่อยเป็นค่อยไปอย่างช้าๆ
ใช้เวลา 5-10 ปีกว่าจะทราบว่าเป็น พบใน
ชายหญิงเท่าๆกนัอายเุฉลี่ยประมาณ 40 ปี
Diagnosis
1.ประวัติและอาการแสดงทางคลินิกที่พบการเปลี่ยน แปลงของรูปร่างเปรียบเทียบจากรูปถ่ายเก่ากับปัจจุบัน
2.ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ GH > 10 ng/ml
3.การทำ CT scan หรือ MRI ดูขนาดของก้อนเนื้องอก
Treatment
1.การผ่าตัด
ผ่าโพรง sphenoid ต้ดก้อนเนื้องอกขนาดเล็กออก
2.รังสีรักษา
ใช้ระยะรักษานานจึงจะได้ผล
3.การรักษาทางยา
เช่น bromocriptine
การหลั่ง ACTH มากผิดปกติ (Cushing’s disease)
มีการหลั่ง ACTH จำนวนมากจากต่อม Pituitary ไปกระตุ้น ให้ต่อมหมวกไตชั้นนอกโตทั้ง2 ข้างและสร้าง cortisol ออกมาทำให้เกิดกลุ่มอาการคุชชิ่ง
การหลั่ง Prolactin มากผิดปกติ (Hyperprolactinemia)
สาเหตุการหลั่งมาก
จากยา
ภาวะของโรค
สภาวะทางด้านร่างกาย
ลักษณะทางคลีนิค
ในหญิง
มีความผิดปกติของการมีประจำเดือน เกิดควบคูู่ไปกับการมีน้ำนมไหล
ในชาย
ความรู้สึกทางเพศลดลงหรือหมดไป บางรายพบเต้านมโตแบบผู้หญิงหรือมีน้านมไหล
อาการและอาการแสดงที่เกิดจากก้อนเนื้องอกกดเบียดเนื้อเยื่อใกล้เคียง
ได้แก่ ปวดศรีษะ การมองเห็นผิดปกติ
การหลั่ง Thyrotropin มากผิดปกติ
การหลั่งTRH ออกมากจากเนื้องอกของ (Pituitary adenoma) พบน้อยมากผู้ป่วยมก้มีอาการของการหลั่งฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์มากร่วมกับมีคอพอก (goiter)
การหลั่ง Gonadotropin มากผิดปกติ
เกิดจากเนื้องอกของเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ทำให้ผู้ป่วยมีอาการ ผิดปกติทางสายตา
การรักษาจึงใช้วิธีผ่าตัดและตามด้วยรังสีรักษา
ความผิดปกติที่เกิดจากการสร้างฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้าน้อย (Hypopituitarism)
สาเหตุเกิดจาก
1.) ความผิดปกติแต่กำเนิดหรือกรรมพันธุ์
2.) เนื้องอกที่ Pituitary gland
3.) เนื้องอกที่Hypothalamus
4.) หลอดเลือดเลี้ยง Pituitary gland ผิดปกติ
5.) การอักเสบ
6.) การได้รับบาดเจ็บ
7.) ไม่ทราบสาเหตุ
อาการและอาการแสดง
1.) การขาด growth hormone
ในผู้ใหญ่ไม่มีอาการชัดเจน ในเด็กที่ขาด GH จะเจริญเติบโตช้าเตี้ยแคระแกรน (dwarfism)
2.) การขาด ACTH
มีผลทำให้เกิดการขาดฮอร์โมน
cortisol มีอาการอ่อนเพลีย น้ำหนักลด คลื่นไส้
3.) การขาด TSH
มีอาการอ่อนเพลีย ทนความร้อนไม่ได้ หนังตาบวม
4.) การขาด gonadotropin
ในหญิงให้ขาดประจำเดือนเป็นหมัน ในชายความต้องการทางเพศลดลง
5.) การขาด prolactin
หลังจากการคลอด จะทำให้ไม่มีน้ำนมเลี้ยงลูก ซึ่งเป็นลักษณะสำคัญของ sheehan’ s syndrome
กลไกการทำหน้าที่และการเปลี่ยนแปลงของ Posterior pituitary gland
ADH deficiency causes Diabetes Insipidus
การขาด ADH
เป็น Diabetes insipidus (DI)
ปัสสาวะไม่เข้มข้น, ปัสสาวะเจือจางมาก
เกิดจาก Tumorsof periventricular area
อาการและอาการแสดง
1.) ปัสสาวะจำนวนมาก
2.)กระหายน้ำ
3.) ดื่มน้ำมาก
สาเหตุของโรคเบาจืด
1.) Tumorsof periventricular area, Head injuries
2.) Nephrogenic DI คือมีความผิดปกติที่ไตแต่กำเนิด
3.) Psychogenic DI คือมีความผิดปกติทางด้านอารมณ์
Syndrome of inappropriate ADH secretion (SIADH)
เกิดจากการมีADH มากเกินความต้องการของร่างกาย
ทำให้น้ำออกจากร่างกายลดลงเกิดภาวะ Na ในเลือดต่ำ
อาการและอาการแสดง
เป็นน้อย : เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน
เป็นปานกลาง : ปวดศีรษะอ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน สับสน น้ำหนักเพิ่ม เบื่ออาหารปวดท้อง
เป็นรุนแรง : ชักและไม่รู้สึกตัว
กลไกการทำหน้าที่และการเปลี่ยนแปลงของ Adrenal gland
ความผิดปกติเกิดจาก
hyperfunction
hypofunction
tumors
Adrenocortical Hyperfunction
1.) Cushing’s Syndrome & Cushing’s Disease
สาเหตุเกิดจาก
1.) ACTH*secreting pituitary microadenoma, few macroadenomas, OR hyperplasia (CUSHING’s DISEASE) ทำให้มีการหลั่ง glucocorticoid มากกว่าปกติ
2.) Adrenal tumoror hyperplasia
3.)Steroid Therapy
ลักษณะอาการ
Obesity/ moon face - Hypertension
ขนดก, ประจำเดือนไม่ปกติ
Osteoporosis
Diabetes
ผิวคล้ำ
2.) Addison’s disease
3.) Adrenogenital Syndrome
กลไกการทำหน้าที่และการเปลี่ยนแปลงของ Thyroid gland
Disorders of the Thyroid Gland ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์
Toxic goiter โรคคอพอกเป็นพิษ
เป็นภาวะที่ต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน (hyperthyroidism)
มีการหลั่งฮอร์โมนไทรอยด์มากเกินปกติ กระตุ้นให้อวัยวะทั่วร่างกายมีการเผาผลาญ (catabolism) สูงกว่าปกติ เกิดอาการเจ็บป่วยต่างๆขึ้นมา
มีสาเหตุที่พบบ่อย ดังนี้
โรคเกฟส์ (Graves’disease)
ผู้ป่วยมักมีต่อมไทรอยด์โตลักษณะแบบกระจาย
โรคพลัมเมอร์ (Plummer's disease)
มีลักษณะการขยายตัวของต่อมไทรอยด์ (คอหอยพอก) ก้อนต่อมไทรอยด์เต่งตึงและการผลิตฮอร์โมนไทรอยด์มากเกินไป
Goiter โรคคอพอก
ต่อมไทรอยด์โต
"เนื่องจากขาดสารไอโอดีน"
Toxic nodular
จากโรคคอพอกธรรมดาที่มีมานาน นำไปสู่ก้อนเนื้อ
Nontoxic
สาเหตุ
-ขาดสารไอโอดีน -การบริโภคสาร/ยา
Hypothyroidism
Cretinism
สาเหตุเกิดมาจากการขาดไทรอยด์ฮอร์โมน
ลักษณะอาการเอ๋อ
เด็กจะเติบโตช้า ดั้งจมูกแบน ขาสั้น มีอาการซึม เชื่องช้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ลิ้นโต ท้องผูก สะดือจุ่น เสียงแหบเป็นหวัดบ่อยๆ ตัวเย็นผิวเป็นวงลาย ตัวเขียว
หัวใจอาจจะโต ผิวแห้ง ผมแห้งเปราะ ฟันขึ้นช้า
เกิดจากการขาดสารไอโอดีนในขณะที่แม่ตั้งครรภ์
ปัญหาที่พบมากคือ
เด็กมีปัญหาสมองพิการ ปัญญาอ่อน
Myxedema
จะมีอาการบวมทั้งตัว หรือหนังตาตก ลิ้นใหญ่ และผิวหนังแห้งเย็น
เกิดจากต่อมไทรอยด์ทำงานน้อยผิดปกติอย่างกะทันหัน
อาการแสดงจากภาวะเมตาบอลิซึมในร่างกายลดลงอย่างมาก
ได้แก่ อุณหภูมิกายต่ำ ความดันโลหิตต่ำ หัวใจเต้นช้า และซึมเศร้า สำหรับอาการซึมเศร้านั้นอาจลามไปจนซึมหลับหรือหมดสติได้
กลไกการทำหน้าที่และการเปลี่ยนแปลงของ Parathyroid gland
Hypoparathyroidism
เป็นภาวะที่พบได้บ่อยหลังจากการผ่าตัดต่อมไทรอยด์ทั้งสองข้างหรือทั้งหมด
เป็นโรคที่พบได้ยากในร่างกายที่ผลิตฮอร์โมนพาราไทรอยด์น้อยเกินไปหรือไม่มีเลย
ทำงานร่วมกับ Calcitonin ที่ช่วยควบคุมปริมาณแคลเซียมในเลือด ดังนั้นเมื่อเกิดภาวะไฮโปพาราไทรอยด์ อาจทำให้ระดับแคลเซียมในเลือดต่ำผิดปกติเรียกภาวะนี้ว่า ไฮโปแคลซิเมีย
อาการและอาการแสดงที่เกิดจากมี GH หลั่งออกมา
มีการเปลี่ยนแปลงของกระดูกกระดูกอ่อนและ
เนื้อเยื่อ มักพบที่ใบหน้าและกะโหลกศีรษะ
หน้าผากว้าง จมูกใหญ่ คางใหญ่ ขากรรไกรล่างยื่นออกมา มือเท้าใหญ่และหนาขึ้นโดยเฉพาะนิ้ว
นางสาวอวัศดา ลีเอาะ UDA6380059