Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคฝีในสมอง
(Brain Abscess)
image, งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง, สมาชิกกลุ่ม
…
โรคฝีในสมอง
(Brain Abscess)
ความหมาย
เป็นการติดเชื้อในระบบประสาทส่วนกลางชนิดหนึ่งที่พบไม่มาก แต่จัดว่าเป็นการติดเชื้อที่รุนแรง และสามารถทำให้เสียชีวิตได้ เนื่องจากปัจจุบันเทคโนโลยีทางการแพทย์สำหรับการวินิจฉัย และการรักษาโรคในระบบประสาทส่วนกลางได้รับการพัฒนาอย่างมาก ดังนั้นการวินิจฉัยฝีในสมองที่ถูกต้อง และการรักษาที่รวดเร็วจะสามารถลดอัตราตาย และทุพพลภาพได้บทความนี้ได้กล่าวถึงระบาดวิทยาเชื้อก่อโรคพยาธิกำเนิดอาการทางคลินิกการตรวจวินิจฉัย และการรักษาของโรคฝีในสมอง
สาเหตุและกลไกการเกิดโรค
สมองมีอวัยวะป้องกันสิ่งแปลกปลอม และเชื้อโรคที่มีประสิทธิภาพมาก ไม่ว่าจะเป็นหนังศีรษะ และกะโหลกศีรษะที่ทำหน้าที่เป็นกลไกทางกายวิภาคในการป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่สมองนอกจากนี้ยังมี Blood-brain barrier (BBB) ที่มีโครงสร้างพิเศษคอยควบคุมการผ่านเข้าออกของสารต่างๆ ระหว่างสมอง และกระแสเลือดรวมทั้งเชื้อโรค
-
-
อาการ
- อาการที่แสดงว่ามีการติดเชื้อในกะโหลกศีรษะ คือ อาการไข้ และเพิ่มอัตราการตกตะกอนของเม็ดเลือดแดง
- อาการของเนื้อสมองถูกกดหรือมีสิ่งกินที่เกิดขึ้น ได้แก่ อาการปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน การรับรู้ลดลง ชา และชัก อาการที่ปรากฎครั้งแรกจะมีไข้ตํ่าๆ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ คอ และมีอาการคอแข็งเล็กน้อย มีอาการงุนงง (Confusion) ง่วงงง (Drowsiness) การรับความรู้สึกบกพร่อง ตลอดจนการติดต่อสื่อสาร อาการปวดศีรษะเป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด ในระยะท้ายๆ จะมีอาการขาดสมาธิ ความจำเสื่อม ความแจ่มชัดของสายตาลดลง สายตาแคบ ตามัว การกลอกตาเป็นอัมพาต เดินเซ และสมองเสื่อม
จากเคสกรณีศึกษา : ผู้ป่วยสับสน 1 วัน ผู้ป่วยมีประวัติเป็นไซนัสอักเสบบ่อยๆมานานเป็นปี
5 วันก่อนมารพ. ผู้ป่วยมีอาการความดันในกะโหลกเพิ่ม ปวดหัว อาเจียน มีไข้สูงและอ่อนเพลีย อาการยังคงเป็นอยู่
1 วันก่อนมารพ ผู้ป่วยซึมลงและสับสน
การประเมินสภาพ
การตรวจร่างกาย
อาการต่างๆที่ตรวจพบขึ้นอยู่กับตำแหน่งของสมองที่เป็นฝี เช่น ที่สมองใหญ่กลีบหน้า จะมีอาการง่วงงง ปลุกตื่น การตัดสินใจผิดพลาด บางครั้งชักถ้าเป็นค่อนไปตรงกลางจะมีอัมพาตครึ่งซีก พูดไม่ได้ ส่วนที่กลีบขมับ บอกชื่อสิ่งของไม่ได้ไม่สามารถอ่านเขียนหรือเข้าใจภาษา จะพูดได้คล่อง แต่ไม่รู้ว่าพูดอะไร ฝีหนองที่พาริเอตัลทำให้การรับรู้การทรงตัวสูญเสีย มีการชักเฉพาะจุด ตาบอดครึ่งซีก นับเลขไม่ได้ เขียนไม่ได้ ฝีที่สมองเล็กจะปวดศีรษะแถวท้ายทอย คอแข็ง การประสานงานของกล้ามเนื้อบกพร่อง ตากระตุก สั่นเมื่อตั้งใจทำงาน พูดไม่ชัด มีความดันกะโหลกเพิ่มอาเจียน
จากเคสกรณีศึกษา
Neurological exam: slight nuchal rigidity คอแข็ง, left homonymous hemianopsia อัมพาตครึ่งซีกซ้าย, slight weakness of left arm and leg แขนและขาข้างซ้ายอ่อนแรงเล็กน้อย
-
-
-
-
การซักประวัติ
คล้ายกับประวัติในผู้ป่วยที่เป็นเยื่อหุ้มสมองอักเสบผู้ป่วยที่เป็นฝีในสมองอาจมีประวัติของการติดเชื้อที่พบคือปวดศีรษะตลอดเวลาหรือปวดเป็นบางครั้งบางคราวและอาการปวดจะไม่หายโดยการได้รับยาแก้ปวดอาการจะดำเนินไปอย่างรวดเร็วจนผู้ป่วยตายได้
การตรวจพิเศษ
-
-
-
-
การเจาะหลังพบว่าน้ำในไขสันหลังใส มีเซลล์เม็ดเลือดขาวประมาณ 25-300 เซลล์ / ไมโครลิตร ค่าโปรตีนปกติน้ำตาลต่ำหรือลดลงอย่างมากความดันน้ำหล่อสมองจะสูง
-
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ
- การให้ยาปฏิชีวนะควรเริ่มหลังการผ่าตัดเก็บหนองส่งตรวจเพื่อสามารถให้การรักษาได้อย่างเหมาะสมกับเชื้อก่อโรคและไม่รบกวนผลการเพาะเชื้อ
- สามารถทำได้ในรายที่ก้อนเล็กกว่า 2 เซนติเมตร มีหลายก้อน ก้อนอยู่ในตำแหน่งผ่าตัดไม่ได้
- ควรให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำเป็นระยะเวลา 2- 4สัปดาห์และควรตรวจภาพถ่ายรังสีทุก 2 สัปดาห์หากฝีมีขนาดใหญ่ขึ้นหรือขนาดไม่ลดลงภายใน 4 สัปดาห์หลังเริ่มให้ยาควรพิจารณาทำการผ่าตัดเพื่อระบายหนองเพิ่มเติมและเก็บหนองเพาะเชื้อใหม่ในรายที่ได้รับการผ่าตัดระบายอย่างเหมาะสม
- ในระยะ cerebritis สามารถพิจารณาให้ยาปฏิชีวนะสั้นลงเป็นระยะเวลา 4-6 สัปดาห์ได้สำหรับเชื้อ Nocardia ควรให้ยานาน 6-12 เดือนร่วมกับการทำ complete excision
-
Corticosteroids
- สามารถออกฤทธิ์ลดความดันในกะโหลกที่เกิดจากสมองบวม
- มีผลทำให้เม็ดเลือดขาวเคลื่อนตัวมายังบริเวณที่มีการติดเชื้อน้อยลงยาปฏิชีวนะผ่าน BBB ได้ลดลง
-
- ให้ในรายที่ฝีมีขนาดใหญ่โดยควรให้ในระยะสั้นก่อนการผ่าตัดหรือให้ยาปฏิชีวนะและควรลดยาลงโดยเร็วที่สุดเมื่อผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นหรือได้รับการผ่าตัดระบายหนองแล้ว
ยากันชัก
- ใช้ป้องกันการชักทุกรายในผู้ป่วยที่เป็นฝีในสมอง เนื่องจากฝีในสมองเกิดจากปฏิกิริยาของฝีทำให้เนื้อสมองรอบ ๆ บวมและกระตุ้นคลื่นไฟฟ้าของ cerebral cortex ทำให้ชักตามมาอาการชักจะทำให้เกิดการบาดเจ็บของสมองเพิ่มขึ้นสามารถทำให้สมองบวมมาก และมีอาการแย่ลง
- หยุดยาในภายหลังหากผู้ป่วยไม่มีอาการชักและคลื่นไฟฟ้าสมองปกติ
การผ่าตัด
ทำเฉพาะก้อนที่มีขนาดตั้งแต่ 2.5 เซนติเมตรขึ้นไปในตำแหน่ง noneloguent และมี mass effects การผ่าตัดมีหลายวิธี
-
- Craniotomy with excision การผ่าตัดเครนิโอโตมี (craniotomy) เป็นการผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะเพื่อประเมิน สิ่งที่อยู่ในโพรงกะโหลกศีรษะ
เริ่มจากการ เจาะนํ้าไขสันหลังส่งตรวจเพาะเชื้อ และส่งตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมองบริเวณที่เป็นฝีจะดูดซึมรังสีไว้มาก และการเอกซเรย์ด้วยคอมพิวเตอร์นี้สามารถตรวจหาตำแหน่งของฝี ที่มีขนาดใหญ่กว่า 1 ซ.ม. ถ้าเป็นฝีที่กลีบขมับ การฉีดสีเข้าหลอดเลือดแดงจะบอกตำแหน่งฝีได้ ในรายที่มีความดันในสมองสูงห้ามเจาะหลัง เมื่อวินิจฉัยได้แล้วจึงค่อยส่งผ่าตัด เพื่อขจัดเอาก้อนฝีหรือระบายออก และให้ยาปฏิชีวนะตามที่พบในก้อนฝีนั้น
เคสกรณีศึกษา
ชายอายุ 67 ปี ญาตินำส่งรพ เนื่องจากผู้ป่วยสับสน 1 วัน ผู้ป่วยมีประวัติเป็นไซนัสอักเสบบ่อยๆมานานเป็นปี 5 วันก่อนมารพ. ผู้ป่วยมีความดันในกะโหลกเพิ่ม ปวดหัว อาเจียน มีไข้สูง และอ่อนเพลีย อาการยังคงเป็นอยู่
1 วันก่อนมารพ ผู้ป่วยซึมลงและสับสน
PE: T 39 degree Celcius, PR 110/min, RR 20/min. BP 140/80 mmHg
-
-
กายวิภาคและสรีระวิทยา
1.Dura mater เป็นเยื่อหุ้มสมองที่ประกอบขึ้นจาก fibrous connective tissue ที่หุ้มอยู่ชั้นนอกของสมองและไขสันหลัง มีลักษณะเหนียวและหนา dura mater ส่วนที่หุ้มสมองอยู่อาจ จะมีการแยกออกเป็น 2 ชั้น โดยชั้นนอกหุ้มติดกับเยื่อหุ้มกะโหลกศีรษะ ชั้นในแทรกเข้ามาอยู่ในระหว่าง longitudinal fissure ของสมองทำหน้าที่แบ่งสมองออกเป็น 2 ซีก เรียกว่า falx cerebri และส่วนที่กั้นระหว่าง cerebrum กับ cerebellum เรียกว่า tentorium cerebelli และส่วนที่แทรกเข้าไปแบ่งระหว่าง cerebellum 2 ซีก เรียกว่า falx cerebelli
2.Arachnoid mater เป็นเนื้อเยื่อชั้นกลางที่หุ้มสมองและไขสันหลัง มีลักษณะเป็นเนื้อเยื่อบางๆและมีโครงสร้างที่คล้ายกับร่างแหไปเชื่อมกับชั้นของ pia mater
3.pia mater เป็นเนื้อเยื่อชั้นในสุดหุ้มติดกับเนื้อสมองและไขสันหลังและหุ้มเข้าไปในร่องของสมอง เป็นเนื้อเยื่อชั้นที่บางที่สุดและแยกออกจากเนื้อสมองและไขสันหลังได้ยาก เหนือ dura mater หรือ ช่องที่อยู่ระหว่าง dura mater กับกะโหลกศรีษะ เรียกว่า eidural space ระหว่างชั้น dura mater กับ arachnoid mater มีช่อง เรียกว่า subdural space มีน้ำหล่อลื่นอยู่เล็กน้อยระหว่างชั้น arachnoid mater กับ pia mater มีช่อง เรียกว่า subaracchnoid space ซึ่งมีน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง (cerebrospinal fluid) ที่ช่วยป้องกันสมองและไขสันหลังจากอันตรายและยังให้สารอาหารบางอย่างมาเลี้ยง
-
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ฝีในสมองส่วนหน้าด้านขวาที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของพัฒนาการทางหลอดเลือดดำที่หายาก (Obiorah, et al., 2020)
1.สรุปและความเป็นมา
ฝีสมองจะถูกทำลายล้างการติดเชื้อในสมองที่สามารถเริ่มต้นการเป็นทั้งการติดเชื้อที่ห่างไกลหรือท้องถิ่นอย่างไรก็ตาม ใน 20-30% ของกรณีที่เกิดขึ้น จะไม่สามารถระบุแหล่งที่มาของการติดเชื้อได้ ฝีในสมองมักเกิดขึ้นจากผู้ป่วยโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดที่มีการปัดจากขวาไปซ้าย การแบ่งจากขวาไปซ้ายช่วยให้แบคทีเรียที่สะสมอยู่ในจุลภาคในปอดสามารถแพร่กระจายไปยังจุลภาคในสมองได้ การศึกษาก่อนหน้านี้ชี้ให้เห็นว่าการก่อตัวของฝีในสมองมีความเกี่ยวข้องกับสิทธิบัตร foramen ovale (PFO) ซึ่งเป็นโรคทั่วไปที่มีการแบ่งจากขวาไปซ้าย Eustachian valves (EV) ที่พบในผู้ป่วยที่มีความผิดปกตินี้สงสัยว่าจะจูงใจให้พวกเขาแสดงให้ปัดจากขวาไปซ้ายเพื่อให้แบคทีเรียที่ติดเชื้อหลอดเลือดดำสามารถป้อนการไหลเวียนของหลอดเลือดและการแพร่กระจาย hematogenously ไปยังสมอง
-
2.คำอธิบายเคส
หญิงชราวัย 63 ปี ถูกนำตัวส่งแผนกฉุกเฉิน เนื่องจากมีอาการทางจิตใจที่เปลี่ยนแปลงไป ใบหน้าหย่อนคล้อย เธอมีประวัติการสูบบุหรี่และประวัติครอบครัวเป็นโรคหัวใจและมะเร็ง นอกจากนี้ ผู้ป่วยมีประวัติเป็นโรคความดันโลหิตสูง โรคหอบหืด และโรค ASD เมื่ออายุ 22 ปี แม้เธอจะเป็นความคิดแรกที่จะมีโรคเนื่องจากหลายเดือนของอาการปวดหัวและความเมื่อยล้าในการถ่ายภาพเปิดเผยขวาหน้าผากกลีบสมองฝีล้อมรอบด้วยอาการบวมน้ำ vasogenic ทำหลุมเสี้ยนด้านหน้าขวาด้วยการสำลัก 25 มล. ระบายน้ำเป็นหนอง
5.สรุป
การวิจัยการพัฒนาการติดเชื้อในกะโหลกศีรษะในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของหลอดเลือดดำและโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดควรดำเนินต่อไป หวังว่าจะระบุวิธีการป้องกันสิ่งเหล่านี้ที่อาจทำลายล้างในการติดเชื้อ นอกจากนี้ กรณีนี้เน้นย้ำถึงความสำคัญของความระมัดระวังการตรวจสอบสาเหตุของฝีในกะโหลกศีรษะ
4.การอภิปราย
ผู้ป่วยหญิงอายุ 63 ปีรายนี้มีกรณีที่หายากของ SVC ซ้ำซ้อนโดยแยกจากซ้ายไปขวา การถ่ายภาพของเธอยังแสดงให้เห็นเส้นเลือดที่ปอดส่วนบนและกลีบกลางที่กลับคืนมาผิดปกติบางส่วน ซึ่งไหลเข้าสู่ Vena cava ที่เหนือกว่าทางขวา ในกรณีที่หายากนี้ เลือดดำจะไหลเข้าสู่ระบบหลอดเลือดซึ่งทำให้แบคทีเรียซึ่งน่าจะมาจากปากของผู้ป่วยไปถึงสมองในเวลาต่อมา กระตุ้นให้เกิดฝีในสมองกลีบหน้าด้านขวา
-
สมาชิกกลุ่ม
- น.ส.จันทร์จิรา โกติกุล 62116301005
- น.ส.จารุวรรณ ภักดีแก้ว 62116301008
- น.ส.ณัฏธิดา ไตรเสนีย์ 62116301020
- น.ส.ทิพย์นภา ศรีภา 62116301023
- น.ส.ปรมา วัชรประภาวงศ์ 62116301030
- น.ส ปรียาณัฐ เผือกจีน 62116301032
- นายภัทร เหมพิทักษ์ 62116301046
- น.ส.ยมลทิพย์ สุวรรณมณี 62116301054
- น.ส.สมฤทัย มะสุนี 62116301079
- น.ส.สุปรียา อับดุลลอ 62116301084
- น.ส.อารียา จันทร์จำรัส 62116301096