Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงการควบคุมการเจริญเติบโต และเมตาบอลิสมของต่อมไร้ท่อ - Coggle…
การเปลี่ยนแปลงการควบคุมการเจริญเติบโต และเมตาบอลิสมของต่อมไร้ท่อ
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานของต่อมไร่ท่อ
การทำงานของไฮโปธาลามัสและต่อมพิทูอิทาริ
การทำงานของ Hypothalamus และ Pituitary gland
ภาวะที่ตอ่มทาหน้าที่มาก(excessiveofhyperfunction) หรือไม่เพียงพอ (insufficiency or deficiency or hypofunction)
Pea sized mass of glandular tissue
Lies in sella turcica
Slender stalk: Infundibulum connects pituitary gland to hypothalamus
2 parts : Adenohypophysis Neurohypophysis
(Anterior pituitary) (Posterior pituitary)
Pituitary gland: Parts
Pituitary gland
การทำงานของ Pituitary gland และ Hypothalamus เนื้อ เยื่อ อวัยวะ
เป้าหมายและกลไกย้อนกลับ
ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่พบบ่อย
กลไกการทาหน้าที่และการเปลยี่ นแปลงของ Anterior pituitary gland
การควบคุมการหลั่งฮอร์โมนของต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ฮอร์โมนที่สร้างจาก hypothalamus ที่ควบคุม การทำงานของต่อมใตส้ มองส่วนหน้าได้เเก่
Corticotropin-releasing hormone (CRH)
Thyrotropin-releasing hormone (TRH)
Gonadotropin-releasing hormone (GnRH)
Growth hormone-releasing hormone (GRH)
Growth hormone-inhibiting hormone (GIH)
Prolactin-releasing factor (PRF)
Prolactin-inhibiting factor (PIF)
การเปลี่ยนแปลงการทำงานของฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ความผิดปกติที่เกิดจากการสร้างฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้ามาก(Hyperpituitarism)
การหลั่ง Growth hormone มากผิดปกติ ส่วนใหญ่เกิดจากการมีเน้ืองอกที่ Pituitary gland ถ้าเกิดในเด็กเรียกว่า Gigantismเกิดในผู้ใหญ่เรียกAcromegaly
สาเหตุของการเกิด acromegalyและgigantism
1.) มีก้อนเน้ืองอก (adenoma) ที่ต่อมใต้สมอง
2.)ต่อมใต้สมองโต(hyperplasia)
3.) มีความผิดปกติของฮอร์โมนท่ีหลั่งจาก Hypothalamus
Clinical Characteristics
อาการและอาการแสดงที่เกิด จากระดับ Prolactin สูง
1.1 ในหญิงจะมีความผิดปกติของการมีประจาเดือน เกิดควบคู่ไป กับ การมีน้ำนมไหล
1.2 ในชาย พบว่าความรู้สึกทางเพศลดลงหรือหมดไป บางรายพบ เต้านมโตแบบผู้หญิงหรือมีน้ำนมไหล
อาการและอาการแสดงที่เกิดจากก้อนเนื้องอกกดเบียดเนื้อเยื่อ ใกล้เคียง ได้เเก่ ปวดศีรษะ การมองเห็นผิดปกติ
Diagnosis
โดยเฉพาะถ้าสูงมากกว่า 300 μg/L
1.)การเจาะเลือดหาระดับ basal โปรแลคตินถ้าสูงกว่าปกติแสดง
ว่าเป็นเน้ืองอกของ Pituitary gland และขนาดของก้อนมักจะใหญ่
2.)การฉีดTRH ผู้ป่วยที่เป็นprolactinemia จานวนโปรแลคตินจะ ไม่หลั่ง เพิ่มข้ึนอีกการตรวจอื่นๆ เช่น การถ่ายภาพรังสี และการตรวจสภาพสายตา
Treatment
1.) การผ่าตัดเอาก้อนเน้ืองอกออก
2.)การรักษาทางยา เช่นbromocriptine
3.) รังสีรักษา
ความผิดปกติที่เกิดจากการสร้างฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า น้อย (Hypopituitarism)
สาเหตุเกิดจาก
1.)ความผิดปกติแต่กำเนิดหรือกรรมพันธุ
2.) เน้ืองอกที่ Pituitary gland
3.) เน้ืองอกที่ Hypothalamus
4.) หลอดเลือดเลี้ยง Pituitary gland ผิดปกติ
5.)การอักเสบ
6.) การได้รับบาดเจ็บ
7.) ไม่ทราบสาเหตุ
Signs and symptoms
1.) การขาด growth hormone ในผู้ใหญ่ไม่มีอาการชัดเจน ในเด็กที่ขาดGHจะเจริญเติบโตชา้ เต้ียแคระแกรน(dwarfism)
2.)การขาดACTHมีผลทำใหเ้กิดการขาดฮอร์โมน cortisolทาให้มีอาการอ่อนเพลียน้ำหนักลดคลื่นไส้
3.) การขาด TSH มีอาการอ่อนเพลีย ทนความร้อนไม่ได้ หนังตาบวม
4.) การขาด gonadotropin ในหญิงทำให้ขาดประจาเดือน เป็นหมันในชายความต้องการทางเพศลดลง
5.) การขาด prolactin หลังจากการคลอด จะทาใหไ้ ม่มีน้ำนมเลี้ยงลูก ซึ่งเป็นลักษณะสำคัญของ sheehan’ s syndrome
Diagnosis
1.) อาศัยประวัติและการตรวจร่างกาย
2.) การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น ถ่ายภาพรังสีกะโหลกศีรษะ ตรวจดูระดับฮอร์โมน
Treatment
1.) การให้ฮอร์โมนทดแทน
2.) การผ่าตัด
3.) การใช้รังสีรักษา
กลไกการทาหน้าที่และการเปลี่ยนแปลงของ Posterior pituitary gland
ADH deficiency causes Diabetes Insipidus
การขาด ADH
เป็น Diabetes insipidus (DI)
ปัสสาวะไม่เข้ม ข้น ,ปัสสาวะเจือจางมาก
เกิดจาก Tumors of periventricular area
สาเหตุของโรคเบาจืด
1.) Tumors of periventricular area, Head injuries
2.) Nephrogenic DI คือมีความผิด ปกติที่ไตแต่กำเนิด
3.)PsychogenicDIคือมีความผิดปกติทางด้านอารมณ์
Signs and symptoms
1.) ปัสสาวะจำนวนมาก
2.) กระหายน้ำ
3.) ดื่มน้ำมาก
Diagnosis
1.) จากประวัติ: การได้รับบาดเจ็บหรือผ่าตัดบริเวณศีรษะ
2.) จากการตรวจร่างกาย: มีภาวะขาดน้ำ ผิวแห้งตาลึก น้าหนักลด
3.)ผลการตรวจทางหอ้งปฏิบัติการ:ตรวจปัสสาวะตรวจเลือด
Treatment
1.) การให้ฮอร์โมนทดแทน: Vasopressin ตลอดชีวิต
2.) การใช้ยาท่ีไม่ใช่ฮอร์โมน: sulfonylurea, chlorpropamide
3.)การป้องกันภาวะขาดน้ำ
กลไกการทาหน้าที่และการเปลยี่ นแปลงของ Adrenal gland
Adrenal Cortex
1- Zona glomerulosa>mineralocorticoids (aldosteron)
2- Zona fasciculata > glucocorticoids (cortisol)
3- Zona reticularis > estrogens & androgens
• ความผดิ ปกติเกิดจาก:hyperfunction&hypofunction&tumors
Adrenal Medulla
สร้าง/หลั่ง catecholamines
ความผิด ปกติเกิดจาก:tumors
„ Located superior to the kidney
Divided into: (i) outer cortex (ii) inner medulla
กลไกการทาหน้าที่และการเปลี่ยนแปลงของ Thyroid gland
Adrenocortical Hyperfunction
Cushing’s Syndrome
สาเหตุเกิดจาก
1.) ACTH*secreting pituitary microadenoma, few macroadenomas, OR hyperplasia (CUSHING’s DISEASE) ทาให้ มีการหลงั่ glucocorticoid มากกว่าปกติ
2.) Adrenal tumor or hyperplasia
3.) Steroid Therapy
ลักษณะอาการ
Obesity/ moon face
ขนดก, ประจาเดือนไม่ปกติ
Osteoporosis
ผิวคล้ำ
Hypertension
Diabetes
มีภาวะเสี่ยงต่อการติดเชื่อสูง
Thyroid gland
Located in middle anterior part of neck: below larynx, in front of trachea
Butterfly” shape
2 lobes connected by isthmus
in size : puberty & pregnancy
Produces Thyroxin (T4) & Tri-iodothyronine (T3)
Calcitonin: involved in calcium &
phosphate homeostasis
กลไกการทำหน้าที่และการเปลี่ยนแปลงของ Parathyroid gland
Parathyroid Hormone
Parathyroid hormone (PTH) increases blood calcium ion concentration and decreases phosphate ion concentration.
PTH stimulates bone resorption by osteoclasts, which releases calcium into the blood.
PTH also influences the kidneys to conserve calcium and causes
increased absorption of calcium in the intestines.
A negative feedback mechanism involving blood calcium levels
regulates release of PTH.
Calcitonin and PTH exert opposite effects in regulating calcium ion levels in the blood
Calcium Metabolism
Calcium balance requires
Calcitriol (dihydroxycholecalciferol)
Produced by modifying vitamin D in liver then in kidney
Parathyroid hormone
Calcitonin
Disorders of the Parathyroid Glands
Tetany
Inadequate production of parathyroid hormone (PTH)
Fragile bones and kidney stones
Excess production of parathyroid hormone (PTH)
HYPOPARATHYROIDISM
Surgicallyinduced
Congenitalabsence
Familialhypothyroidism
Associated with chronic mucocutaneous candidiasis and primary adrenal insufficiency
Known as autoimmune polyendocrine syndrome type I (APS I)
Mutations in the autoimmune regulator (AIRE) gene
Idiopathic hypothyroidism