Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Behavioral Theories กลุ่มพฤติกรรมนิยม, Cognitive Theories …
Behavioral Theories
กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก
Ivan Petrovich Pavlov
อีแวน พาโตรวิช พาฟลอฟ
นักสรีรวิทยา ชาวรัสเซีย
ได้รับรางวัลโนเบลจากการวิจัย เรื่อง สรีรวิทยาการย่อยอาหาร
การทดลอง
ศึกษาทดลองกับสุนัข
เขาสังเกตสุนัขมีน้ำลายไหลออกมา
เมื่อเห็นผู้ทดลองนำอาหารมาให้
ขั้นที่ 1 เสียงกระดิ่ง (CS) ไม่มีน้ำลาย ผงเนื้อ (UCS) น้ำลายไหล (UCR)
ขั้นที่ 2 เสียงกระดิ่ง น้ำลายไหล (UCR) และผงเนื้อ (UCS) ทำขั้นที่ 2 ซ้ำกันหลาย ๆ ครั้ง
ขั้นที่ 3 เสียงกระดิ่ง (CS) น้ำลายไหล (CR)
คำศัพท์ที่สำคัญในการศึกษาการทดลอง
สิ่งเร้าที่เป็นกลาง (Neutral Stimulus)
คือ สิ่งเร้าที่ไม่ก่อให้เกิดการตอบสนอง นั่นก็คือ เสียงกระดิ่ง
สิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข (Unconditioned Stimulus หรือ US) คือ สิ่งเร้าที่ก่อให้เกิดการตอบสนองได้ตามธรรมชาติ นั่นก็คือ อาหาร
สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (Conditioned Stimulus หรือ CS) คือ สิ่งเร้าที่ทำให้เกิดการตอบสนองได้หลังจากถูกวางเงื่อนไข
นั่นก็คือ เสียงกระดิ่ง
การตอบสนองที่ไม่ได้ถูกวางเงื่อนไข (Unconditional Response หรือ UCR) คือ การตอบสนองที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
การตอบสนองที่ถูกวางเงื่อนไข (Conditional Response หรือ CR) คือ การตอบสนองอันเป็นผลมาจากการเรียนรู้ที่ถูกวางเงื่อนไข
การนำไปใช้เป็นหลักการในการจัดการเรียนการสอน
การนำความต้องการทางธรรมชาติของผู้เรียนมาใช้เป็นสิ่งเร้า
นำเสนอสิ่งที่จะสอนไปพร้อมๆกับสิ่งเร้า
การนำเรื่องที่เคยสอนไปแล้วมาสอนใหม่
การจัดกิจกรรมการเรียนให้ต่อเนื่องและมีลักษณะคล้ายคลึงกัน
การเสนอสิ่งเร้าที่ชัดเจนในการสอน
หากต้องการให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมใด ควรมีการใช้สิ่งเร้าหลายแบบ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวัตสัน
John B. Watson จอนห์ บี วัตสัน
นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน
บิดาของจิตวิทยาพฤติกรรมนิยม เป็นผู้ริเริ่มคำศัพท์ Behaviorism
บิดาแห่งการบำบัด
การทดลอง
เขาเชื่อว่าจะสามารถวางเงื่อนไขพฤติกรรมความกลัวกับสิ่งเร้าอื่นตามต้องการและสามารถลบพฤติกรรมความกลัวให้หายไปได้
การทดลองที่ 1 การวางเงื่อนไขความกลัว
ก่อนการวางเงื่อนไข
หนูขาว (UCS) ------> ไม่กลัว (UCR)
เสียงดัง (UCS) -----> กลัวและร้องไห้ (UCR)
ระหว่างการวางเงื่อนไข
หนูขาว (CS) + เสียงดัง (UCS) -----> ตกใจกลัวร้องไห้ (UCR)
หลังการวางเงื่อนไข
หนูขาว (CS) ------> ตกใจร้องไห้ (CR)
การทดลองที่ 2 การวางเงื่อนไขกลับ
ก่อนการวางเงื่อนไข
มารดาอุ้ม (UCS) -------> ไม่กลัวสิ่งต่างๆ (UCR)
ระหว่างการวางเงื่อนไข
หนูขาว (CS) +มารดา (UCS) -------> ไม่กลัว (UCR)
หลังการวางเงื่อนไข
หนูขาว (CS) -------> เล่นกับหนูขาว (CR)
กฎการเรียนรู้
พฤติกรรมเป็นสิ่งที่ควบคุมได้
เมื่อสามารถทำให้เกิดพฤติกรรมใดๆได้ ก็สามารถลดพฤติกรรมนั้นให้หายไปได้
การสร้างแรงจูงใจหรือสิ่งเร้าที่เหมาะสม
การลบพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ โดยการหาสิ่งเร้าตามธรรมชาติที่ไม่ได้วางเงื่อนไขมาช่วย
ทฤษฎีความสัมพันธ์เชื่อมโยง
Edward Lee Thorndike เอ็ดเวิร์ด ลี ธอร์นไดค์
นักการศึกษาชาวอเมริกัน
บิดาแห่งจิตวิทยาการศึกษา
S-R Model
การทดลอง
เขาเชื่อว่าการเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเราและการตอบสนอง รวมถึงให้ความสำคัญต่อการเสริมแรง
การจับแมวที่กำลังหิวใส่ไว้ในกล่องปัญหาที่มีสลักปิดไว้
กฏแห่งความพร้อม (Law of Readiness)
กฏแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise)
กฏแห่งการใช้ (Law of Use and Disuse)
กฎแห่งผลที่พึงพอใจ (Law of Effect)
การนำไปใช้เป็นหลักการในการจัดการเรียนการสอน
เรียนรู้แบบลองผิดลองถูก
สำรวจและสร้างความพร้อมแก่ผู้เรียน
ช่วยให้เขาเกิดทักษะอย่างแท้จริง
เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ต้องนำความรู้นั้นไปใช้บ่อยๆ
ให้สิ่งเร้าหรือรางวัลเพื่อให้ผู้เรียนพอใจ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนต์
Burhus F. Skinner เบอร์ฮัล เอฟ สกินเนอร์
เจ้าของทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
นักจิตวิทยาและนักการศึกษาชาวอเมริกัน
แนวคิดค้านพาฟลอฟและวัตสัน
ผู้ค้นคิด skinner box และ teaching machine
การทดลอง
Skinner box
การเสริมแรง
การเสริมแรงทางบวก ให้ในสิ่งที่พึงพอใจ เช่น คำชม ยิ้ม เงิน
การเสริมแรงทางลบ
เอาสิ่งที่ไม่พึงพอใจออกไป
กฎการเรียนรู้
หากไม่มีการเสริมแรง การกระทำนั้นจะลดลงและหายไป
การเสริมแรงที่ไม่แน่นอนตอบสนองคงทน
การลงโทษทำให้เรียนรู้เร็วและลืมเร็ว
การเสริมแรงจะช่วยปรับและปลูกฝังพฤติกรรมที่ต้องการได้
การนำไปใช้เป็นหลักการในการจัดการเรียนการสอน
ให้การเสริมแรงหลังการตอบสนองที่เหมาะสม
การเว้นหรือเปลี่ยนรูปแบบการเสริมแรงจะช่วยให้การตอบสนองคงทนถาวร
การลงโทษที่รุนแรงเกินไป จะไม่เกิดการเรียนรู้
การแยกปฏิกิริยาออกเป็นลำดับขั้นตอน จะช่วยปลูกฝังนิสัย
การประยุกต์เพื่อออกแบบสื่อคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงสร้างของบทเรียนในลักษณะเชิงเส้นตรง (Linear)
ตั้งคำถาม ๆ ผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอ แบบทดสอบ
ตอบถูกก็จะได้รับการตอบสนองในรูปผลป้อนกลับทางบวกหรือรางวัล (Reward)
เสียง : คำตอบถูกต้อง ปิ๊งป่อง :check:
ตอบผิดก็จะได้รับการตอบสนองในรูปของผลป้อนกลับในทางลบและคำอธิบายหรือการลงโทษ ( Punishment)
เสียง : คำตอบผิด แอ่ดดด :green_cross:
ชุดการสอน : ระบบสื่อประสม (Multi-media)
รูปภาพ
เทป
สไลด์
แผ่นคำบรรยาย
ภาพเคลื่อนไหว
เสียงชัดเจน
บทเรียนแบบโปรแกรม
เป็นบทเรียนที่นำเสนอเนื้อหาทีละน้อยตามลำดับ
ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนด้วยการตอบคำถามหรือปฏิบัติกิจกรรมอื่นๆ
ประยุกต์ใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน
การสร้างบทเรียน
การเสริมแรงทางบวก
การวางเงื่อนไข
กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความพร้อมก่อนการเรียน
การตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล
เน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกหัดบ่อยๆ
องค์ประกอบของการเรียนรู้
สิ่งเร้า
การตอบสนอง
แรงขับ (ความหิว)
การเสริมแรง
Cognitive Theories
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้จะอธิบายได้ดีที่สุด หากเราเข้าใจกระบวนการภายใน
การรับรู้
ความรู้ ความเข้าใจ
กระบวนการคิด
การจินตนาการ/การวาดภาพในใจ
การคาดการณ์ล่วงหน้า
การคิดอย่างมีเหตุผล
การตัดสินใจ
การจำได้
การแก้ปัญหา
การรับรู้
การจัดกลุ่มสิ่งต่างๆ
ความใส่ใจ
การตีความหมาย
ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจต์
Jean Piaget ฌอง เพียเจต์
นักจิตวิทยาชาวสวิสเซอร์แลนด์
ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการทางด้านสติปัญญาของเด็ก
พัฒนาการทางสติปัญญาตามวัย 4 ช่วง
ขั้นการคิดอย่างมีเหตุผลและเป็นรูปธรรม ช่วงอายุ 7-11 ปี
ขั้นการคิดอย่างมีเหตุผลและนามธรรม อายุ 12 ปี จนถึงวัยผู้ใหญ่
ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด ช่วงอายุ 2-7 ปี
ขั้นการรับรู้ด้วยประสาทสัมผัสการเคลื่อนไหว
การส่งเสริม 6 ขั้น
ขั้นรู้หลายระดับ (Discrete Degree)
ขั้นความเปลี่ยนแปลงต่อเนื่อง (Variation)
ขั้นรู้สิ่งตรงกันข้าม (Opposition)
ขั้นรู้ผลของการกระทำ (Function)
ขั้นความรู้แตกต่าง (Absolute Differences)
ขั้นการทดแทนอย่างลงตัว (Exact Compensation)
หลักการเรียนรู้สำหรับเด็ก
ควรคำนึงถึงพัฒนาการของเด็ก
ให้ความสนใจและสังเกตเด็กอย่างใกล้ชิด
สอนในสิ่งที่เด็กคุ้นเคยหรือมีประสบการณ์มาก่อน
การเปิดโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์และมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบของบรูเนอร์
Jerome Bruner เจอร์โรม บรูเนอร์
ศาสตราจารย์ทางจิตวิทยาแห่งมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด
เขาสนใจแนวคิดของเพียร์เจต์
โครงสร้างทางปัญญา หรือ cognitive structure
การค้นพบที่ดีที่สุดคือการเรียนรู้ด้วยตนเอง
โครงสร้างของความรู้ 3 ขั้น
Iconic Representation (ขั้นสร้างภาพในใจ)
Symbolic stage (ขั้นใช้สัญลักษณ์)
Enactive Representation (ขั้นแสดงออกด้วยการกระทำ)
แนวคิดพื้นฐาน
การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง
การเรียนรู้เกิดจากการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่พบใหม่และความรู้เดิม แล้วนำมาสร้างเป็นความหมาย
ผู้เรียนแต่ละคนจะมรประสบการณ์และพื้นฐานความรู้ที่แตกต่างกัน
ข้อดีและข้อจำกัด
เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากเเรงจูงใจภายใน
ไม่สามารถใช้การเรียนรู้โดยการค้นพบทุกแขนงวิชา
จดจำสิ่งที่ได้เรียนรู้ได้นาน
ใช้ระยะเวลานาน
ช่วยฝึกทักษะการสังเกตและพัฒนาความคิด
ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
ทฤษฎี
การเรียนรู้อย่างมีความเข้าใจและอย่างมีความหมาย
การเรียนรู้โดยการค้นพบ
นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน
ประเภทการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
Subordinate learning เป็นการเรียนรู้โดยการรับรู้อย่างมีความหมาย
Deriveration Subsumption เป็นการเชื่อมโยงสิ่งที่จะต้องเรียนรู้ใหม่กับหลักการหรือกฎเกณฑ์ที่เคยเรียนมาแล้ว
Correlative subsumption การเรียนรู้ที่มีความหมาย
Superordinate learning เป็นการเรียนรู้โดยการอนุมาน
Combinatorial learning เป็นการเรียนรู้หลักการ
กฎเกณฑ์ต่างๆเชิงผสม
ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
การเรียนรู้ เกิดจากสิ่งที่มีความหมายและความพร้อม
การเข้าเรียนในโรงเรียนกวดวิชาก็ใช้วิธีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
David Ausubel เดวิด ออซูเบล
ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล
Herbert Klausmeier คลอสเมียร์
สนใจเกี่ยวกับการทำงานของสมอง
แนวคิดนี้ มองว่าสมองของมนุษย์มีกระบวนการทำงานคล้ายคลึงกับการทำงานของคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำงาน
การเข้ารหัส โดยอาศัยชุดคำสั่งหรือซอฟต์แวร์
การส่งข้อมูลออก โดยผ่านทางอุปกรณ์
การรับข้อมูล โดยผ่านทางอุปกรณ์หรือเครื่องรับข้อมูล
ประยุกต์ใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน
ควรใช้หลักการจูงใจเพื่อสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้เรียน
ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยการแก้ปัญหา
จัดเรียบเรียงข้อมูลออกเป็นหมวดหมู่
เน้นให้ผู้เรียนบันทึกการเรียนรู้ของตนเอง
เชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม
เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือ
ผู้สอนต้องให้ความสำคัญกับการส่งเสริมกระบวนการประมวลข้อมูลสารสนเทศให้แก่ผู้เรียน
การประยุกต์เพื่อออกแบบสื่อคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
การบอกใบ้ด้วยภาพ แผนผัง
จดจำบทเรียนได้แม่นยำขึ้น
เกิดจินตนาการที่สร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง
ผู้เรียนควรได้เรียนรู้ภาพรวมหรือโครงสร้างรวมของสิ่งที่จะเรียนก่อน แล้วจึงจะเรียนในส่วนย่อยๆ
รูปทรงปริซึมสามเหลี่ยม
รูปคลี่
ส่วนประกอบ
การขีดเส้นใต้ข้อความที่สำคัญ
การใช้กรอบเพื่อเน้นสาระที่เป็นหัวใจของเรื่อง
ใช้สีสันที่แตกต่างกัน
รูปสี่เหลี่ยม
รูปสามเหลี่ยม
การใช้ภาพเคลื่อนไหว เพื่อให้เป็นสิ่งที่ดึงดูดความสนใจของผู้เรียน
การเรียนรู้โดยการค้นพบด้วยตนเอง
ศึกษาจากคลิบวิดีโอ -----> ตอบคำถาม
เรียนรู้จากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
การทำกิจกรรมกลุ่ม โดยการศึกษาหาความรู้ร่วมกัน
ศึกษาจากเว็บไซต์ต่างๆ
การนำเสนอ
Powerpoint
คลิปวิดีโอ
Mindmap
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
Constructivist Theories กลุ่มสตรัคติวิสต์
แตกแขนงมาจากกลุ่มปัญญานิยม
เน้นสิ่งเร้าภายใน
ความรู้ความเข้าใจ
กระบวนการคิด
เงื่อนไขการเรียนรู้ 2 ประการ
การเรียนรู้เป็นกระบวนการลงมือทำ
ความรู้จะถูกสร้างด้วยตัวของผู้เรียนเอง
Cognitive constructivism theories คอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา
รากฐานทางจิตวยาของ ชอง เพียเจต์
การเรียนรู้เกิดจากการปรับเข้าสู่สภาวะสมดุล ระหว่างอินทรีย์กับสิ่งแวดล้อม
กระบวนการการเรียนรู้
การดูดซึมเข้าสู่โครงสร้างทางปัญญา (Assimilation) เป็นการตีความ หรือรับข้อมูลจากสิ่งแวดล้อมมาปรับเข้ากับโครงสร้างทางปัญญา
การปรับโครงสร้างทางปัญญา (Accommodation) เป็นความสามารถในการปรับโครงสร้างทางปัญญาให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม โดยการเชื่อมโยงระหว่างความรู้เดิมและสิ่งที่ต้องเรียนใหม่
Social constructivism คอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม
Lev Semanovick Vygotsky เล็บ ชีมาโนวิช วิก็อทสกี
นักจิตวิทยาชาวรัสเซีย
วิจัยเกี่ยวกับพัฒนาการทางสติปัญญาในสมัยเดียวกันกับเพียร์เจต์
เขาให้ความสำคัญกับวัฒนธรรมกับสังคม และการเรียนรู้ที่มีต่อพัฒนาการเชาวน์ปัญญา
กลยุทธ์ทางการเรียนรู้ 4 ประการ
บริเวณความใกล้เคียงพัฒนาการทางเชาว์ปัญญา
การเรียนรู้ในโรงเรียนควรจัดสภาพแวดล้อมที่มีความหมาย
การเรียนรู้และพัฒนาสังคม คือ กิจกรรมการร่วมมือ
ประสบการณ์นอกโรงเรียน ควรเชื่อมโยงมาสู่ประสบการณ์ในโรงเรียนของผู้เรียน
เทคโนโลยีการศึกษา
ช่วยกระตุ้นผู้เรียนให้สร้างการอธิบายตัวเอง
เปรียบเสมือนเพื่อนทางปัญญาของผู้เรียน
เทคโนโลยีช่วยสนับสนุนในการสร้างความรู้
ใช้วิธีการสอนและสื่อการสอนที่หลากหลาย เน้นปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อม
เทคโนโลยีการเรียนรู้เป็นสิ่งแวดล้อมต่างๆ
ที่สนับสนุนการเรียนรู้
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเน้นให้ผู้เรียนสืบเสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
เทคโนโลยีเป็นสิ่งที่มากกว่าเครื่องมือ
การประยุกต์เพื่อออกแบบสื่อคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
ออกแบบ ภารกิจ หรือ กิจกรรม
ปัญหาที่ต้องมีความซับซ้อน
ผู้เรียนได้เห็นความซับซ้อนและความเชื่อมโยงกัน ของปัญหา
ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับมัลติมีเดีย
การจำลอง
การสาธิต
การใช้โปรแกรมมัลติมีเดีย
นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ด้วยตัวเองจากแหล่งเรียนรู้
เอกสาร
คอมพิวเตอร์
อินเทอร์เน็ต
โปรแกรมประเภท ภาพเคลื่อนไหวและเสียง
เทคโนโลยีอื่นๆ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
ผู้เรียนจะแลกเปลี่ยนสารสนเทศร่วมกัน
chat
bulletin board
newsgroups
Flowchart หรือ ผังงาน
ช่วยให้ผู้เรียนวิเคราะห์สถานการณ์
วิเคราะห์ เพื่อนำไปสู่การแก้ปัญหาใหม่
สามารถแสดงให้เห็นถึงกระบวนการคิดวิเคราะห์ได้ในหลายรูปแบบ