Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Biochemistry of hormon - Coggle Diagram
Biochemistry of hormon
01การจำแนกชนิดของฮอร์โมน
1.ลักษณะการทำงานหรือการออกฤทธิ์
ฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์ต่อเซลล์เป้าหมายที่อยู่ห่างไกล
ส่งไปตาม•กระแสเลือด
ฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์ต่อเซลล์ข้างเคียง
•เป็นเนื้อเยื่อชนิดเดียวกัน
ฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์ต่อเซลล์ที่ผลิต•มีผลต่อเซลล์ที่สร้างขึ้นมา
เชลล์เป้าหมายที่อยู่ห่างไกล
หลั่ง+ฮอร์โมน+เซลล์เป้าหมาย
2.การจำแนกตาม สารชีวโมเลกุลหลักที่ใช้สังเคราะห์ฮอร์โมน
โปรตีนและไขมัน•สารโมเลกุลหลักที่ใช้ในการสังเคราะห์ฮอร์โมน
กลุ่มที่เป็นอุพันธ์ของวิตามิน•อนุพันธ์ของวิตามิน A,D
3.การจำแนกตามตำแหน่งออกฤทธิ์ที่เซสส์เป้าหมาย
ฮอร์โมนที่ไม่เข้าไปในเซลล์ แต่จะส่งสัญญาณทางสารสื่อสัญญาณทุติยภูมิ
เป็นอนุพันธ์ของกรดอะมิโน เพปไทด์ เเละโปรตีน
ยกเว้น ไทรอกซิน(thyroxine)
ฮอร์โมนที่เข้าไปในเซลล์
ฮอร์โมนกลุ่มสเตอรอยด์ได้เเก่
Aldosterone,Cortisol,Testosterone,Estradiol,Progesterone
ฮอร์โมนกลุ่มอนุพันธ์ของวิตามิน
02การสังเคราะห์ฮอร์โมน
การสังเคราะห์เพปไทด์ฮอร์โมน
Insulinผลิตออกมาในรูป
การสังเคราะห์สเตอรอยด์ฮอร์โมน เกิดขึ้นที่:ER
อาศัยการทำงานของเอนไซม์กลุ่ม cytochrome P450
สเตอรอยด์ฮอร์โมนทุกตัวสร้างมาจาก Pregnenolone
สร้างจากCholesterolเกิดในMitochondria
03การหลั่งเเละขนส่งฮอร์โมน
การคัดหลั่งฮอร์โมน
ระดับฮอร์โมนในเลือดขึ้นกับ:อัตราการหลั่งและค่าครึ่งชีวิตของฮอร์โมน
เพปไทด์|โปรตีนฮอร์โมนเช่น GnRH,lnsulin,GH
เก็บในSecretory granule
อาศัยสัญญาณมากระตุ้น:ปลดปล่อยออกนอกเซลล์
สเตอรอยด์ฮอร์โมน:ขับออกนอกเซลล์ทันทีที่สร้างเสร็จ
เพปไทด์ฮอร์โมน:ขนส่งในรูปอิสระ
สเตอรอยด์ฮอร์โมน:ขนส่งกับโปรตีนที่อยู่ในplasmaเช่น Globulin,Albumin
ค่าครึ่งชีวิตของฮอร์โมน:สำคัญในการรักษาผู้ป่วยโดยการใช้ฮอร์โมน
คำนวณขนาด+ความถี่:เพื่อรักษาระดับฮอร์โมนให้คงที่
สเตอรอยด์ฮอร์โมน:มีค่าครึ่งชีวิตยาวเพราะมีการจับกับโปรตีน
ค่าครึ่งชีวิต20นาทีต้องเจาะเลือดทุก10นาที เป็นเวลา8-24ชั่วโมง
04การออกฤทธิ์ของฮอร์โมน
ตัวรับที่อยู่บนเซลล์
(cell surface receptor)
1.1G protein-couple receptorได้แก่
Prostaglandins,ACTH
1.2Tyrosine kinase receptor ได้แก่lnsulin
1.3Cytokine receptorได้แก่GH
ตัวรับที่อยู่ในเซลล์
(Nuclear receptor)
2.1Stetoid receptor
2.2Thyroid receptor
ฮอร์โมนที่เป็นอนุพันธ์ของกรดอะมิโน
Thyroxine,T4=ค่าครึ่งชีวิต7วัน
Triiodothyronine,T3=ค่าครึ่งชิวิต1วัน
05หน้าที่ของฮอร์โมน
หน้าที่ฮอร์โมน
การเจริญเติบโต:ฮอร์และภาวะโภชนาการเป็นปัจจัยหลักในการเจริญเติบโตของร่างกาย
รูปร่างเตี้ยแคระขาดGN,Hypothyroidism
การรักษาภาวะธำรงดุล
ฮอร์โมนทุกตัวมีผลต่อความสมดุลของร่างกาย
Thyroid hormone:ควบคุมเมแทบอลิซึมพื้นฐานของร่างกาย25%
Cortisol:มีผลต่อฮอร์โมนหลายชนิด
PTH:ควบคุมแคลเซียมเเละฟอสเฟต
Insulin:รักษาระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
การสืบพันธุ์
เกี่ยวข้องทุกขั้นตอนในการสืบพันธุ์
การกำหนดเพศในระหว่างที่อยู่ในครรภ์
การพัฒนาการเจริญพันธุ์ในช่วงวัยรุ่น
การเตรียมพร้อมร่างกายขณะตั้งครรภ์เเละการให้นม
อาการเมื่อขาดฮอร์โมน
ฮอร์โมนเพศชาย
1.สมรรถภาพทางเพศลดลง
2.ความเเข็งเเรงกล้ามเนื้อลดลง
ฮอร์โมนเพศหญิง
1.ร้อนวูบวาบ
2.อารมณ์ฉุนเฉียว
Hormone
หลั่งจากต่อมไร้ท่อหรือจากเนื้อเยื่อคือกระเสเลือด
เป็นตัวนำข่าวสารระหว่างเนื้อเยื่อ
หลั่ง+Blood+target cell
target cell(เซลล์เม็ดเลือดแดง)
เซลล์เป้าหมาย
หน้าที่:ควบคุมการทำงานของเซลล์อื่นๆในร่างกาย
ออกฤทธิ์กับเซลล์เป้าหมายโดยผ่านตัวรับ( receptor)
ฮอร์โมนมี8ชนิด
1.anti diuretic hormane(ADH)
ทำหน้าที่ท่อไต
2.oxytocin
ทำหน้าที่บริเวณมดลูก
3.oxytocin
ทำหน้าที่ต่อมน้ำนม
4.thyroid stimulating hormone(T-SHIRT)
ทำหน้าที่บริเวณไทรอยด์
5.adrenocortico tropin(ACTH)
ทำหน้าที่บริเวณต่อมหมวกไต
6.prolactin(PRL)
ทำหน้าที่บริเวณต่อมน้ำนม
7.growth hormone(GH)
ทำหน้าที่บริเวณกระดูกเนื้อเยื่อ
8.gonadotropins(FSH and LH)
ทำหน้าที่บริเวณ รังไข่ อัณฑะ