Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคไข้เลือดออก images (1), นางสาวศิรภัทร ตุดเอียด เลขที่ 81 - Coggle…
โรคไข้เลือดออก
ความหมาย
โรคไข้เลือดออก เกิดจากเชื้อ Dengue virus หรือ Chikungunya virus โรคนี้ไม่สามารถติดต่อจากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่งโดยตรงแต่มียุงลาย (Aedes aegypti) เป็นพาหะ ยุงที่กัดคนเป็นยุงตัวเมีย โดยมากมักกัดเวลากลางวัน เมื่อยงุกัดคนจะปล่อยเชื้อเข้าไปและเชื้อจะมีระยะฟักตัวในคนประมาณ 5-8 วัน โรคนี้พบในเด็กอายต่ำ
กว่า 15 ปีแต่ในระยะหลังพบในเด็กโตมากกว่าเด็กเล็ก
พยาธิสรีรภาพ
เมื่อยุงกัดคนและปล่อยเชื้อไวรัสเข้าไปในผู้ป่วย
-
แบ่งออกเป็น 3 ระยะดังนี้
- ระยะไข้สูง นานประมาณ 3-9 วัน เบื่ออาหาร อาเจียน
ปวดศีรษะ ปวดท้อง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ เจ็บคอ
- ระยะช็อกแหรือระยะเลือดออก ประมาณ 1 ใน 3 ของผู้ป่วย จะมีอาการรุนแรง มีภาวะไหลเวียนโลหิตล้มเหลวเกิดขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นพร้อมๆกับที่มีไข้ลดลงอย่างรวดเร็วแต่อาการเลวลง มีกระสับกระส่าย เหงื่อออกมาก มือเท้าเย็น ชีพจรเบาเร็วและความดันเลือดลดลง
- ระยะฟื้น พ้นจากระยะช็อก ผู้ป่วยจะกลับสู่สภาพปกติอย่างรวดเร็วใน 2-3 วัน น้ำและโปรตีนที่รั่วออกไป จะกลับเข้าสู่ระบบไหลเวยีนเลือดผู้ป่วยจะถ่ายปัสสาวะบ่อยขึ้น เริ่มอยากรับประทานอาหารในระยะนี้ถ้าทำ Tourniquet test อาจได้ผลบวก อาการตับโตจะค่อยลดลงเป็นปกติ1-2 สัปดาห์ผู้ป่วยอาจเกิดภาวะน้ำ เกินเนื่องจากการดูดกลับของพลาสม่าที่รั่วออกไปนอกหลอดเลือดกลับ เข้าสู่หลอดเลือด
วินิจฉัยโรค
- การตรวจทางห้องปฏิบัติการเช่น การตรวจฮีมาโตคริต มักจะสูงกว่าปกติ(Hemoconcentration) ยกเว้นรายที่มีเลือดออกมาก จำนวนเม็ดเลือดขาวมักปกติจำนวนเกล็ดเลือดต่ำ การถ่ายภาพรังสีของปอดและช่องท้องการตรวจอิเลคโทรลัยท์ การแยกเชื้อไวรัส และการตรวจพบทางSerology
- การทำ Tourniquet test ได้ผลบวกในระยะไข้ และระยะพักฟื้น
- Dengue fever เป็นในผู้ที่ได้รับเชื้อเป็นครั้งแรก ผู้ป่วยจะมีไข้ 5-7 วัน ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัวอาจมีปวดข้อและมีผื่นขึ้น อาการแยกจากโรคไวรัสอื่นๆ ได้ยากมีส่วนน้อยที่มีอาการช็อก
- Dengue hemorrhagic fever เป็นในผู้ที่ได้รับเชื้อแบบทุติยภูมิผู้ป่วยมีไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว มีผื่นขึ้น เป็นแบบ Maculopapular บางรายมีจุดเลือดออกตามแขนขา ต่อมน้ำเหลืองโต อ่อนเพลียและซึม
- Dengue shock syndrome เป็นในพวกที่ได้รับเชื้อทุติยภูมิที่มีการช็อคร่วมด้วย ภายหลังมีไข้2-3 วันผู้ป่วยจะซึม กระสับกระส่าย ปวดท้องแบบเฉียบพลัน
การพยาบาล
- ในระยะไข้สูง:
1.1 ผู้ป่วยมีโอกาสได้รับน้ำ และเกลือแร่ไม่เพียงพอจากการอาเจียน เบื่ออาหารและมีไข้สูง
1.2 ผู้ป่วยไม่สุขสบายเนื่องจากไข้
- ระยะช็อก ระยะเลือดออก: ผู้ป่วยเด็กมีโอกาสเกิดภาวะช็อกจากการรั่วของพลาสม่าและมีเลือดออก
- ระยะฟื้น: ผู้ป่วยเด็กมีโอกาสเกิดภาวะ Blood volume overload จากการได้รับน้ำเกิน
การป้องกัน
- การควบคุมยุงลาย โดยกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงใช้ยาทำลายลูกน้ำยุงลายเช่น ทรายอะเบท การฉีดยาฆ่ายุงเมื่อมีการระบาด
- ระวังไม่ให้ยุงลายกัดเด็กโดยเฉพาะเวลากลางวัน โดยกางมุ้งหรือทายากันยุง
วัคซีน
วัคซีนไข้เลือดออกที่ป้องกันเชื้อชนิดนี้ได้ครบทุกสายพันธุ์ CYD-TDV หรือ DENGVAXIA มีชื่อทางการค้า Dengvaxia เป็นวัคซีนชนิดตัวเป็น(liveattenuated vaccine) ฉีดที่ 0, 6 และ 12 เดือน เข้าใต้ผิวหนัง (subcutaneousinjection) ฉีดวัคซีน 3 ครั้ง ครั้งละ0.5 มล.แก่บุคคล อายุ 9 - 45 ปีที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค
-