Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Carbohydrate Metabolism - Coggle Diagram
Carbohydrate Metabolism
การย่อยคาร์โบไฮเดรต
การย่อยในปาก
เริ่มต้นจากการเคี้ยวอาหาร เป็นการย่อยเชิงกล ทำให้อาหารเป็นชิ้นเล็กๆ ในขณะเดียวกันต่อมน้ำลายก็จะหลั่งน้ำลายออกมาช่วยคลุกเคล้าอาหารให้สะดวกในการกลืน
อะไมเลสจะย่อยแป้งให้กลายเป็นเดกซ์ทริน (Dextrin) ซึ่งเป็นคาร์โบไฮเดรต ที่มีโมเลกุลเล็กกว่าแป้ง แต่ใหญ่กว่าน้ำตาล และถูกย่อยต่อไปเป็นน้ำตาลโมเลกุลคู่ คือ มอลโตส
ลำไส้เล็ก เป็นทางเดินอาหารส่วนที่ยาวมาก แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ดูโอดีนัม เจจูนัม และไอเลียม
ย่อยน้ำตาลโมเลกุลคู่ ให้เป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว ดังนี้ -มอลโทส ย่อยโดยเอนไซม์มอลเทส ได้กลูโคส 2 โมเลกุล
-ซูโครส ย่อยโดยเอนไซม์แลกเทส ได้กลูโคสและฟรักโทส
-แลกโทส ย่อยโดยเอนไซม์แลกเทส ได้กลูโคส และกาแลกโทส
กระเพาะอาหาร
ผลิตน้ำย่อยเพปซินย่อยโปรตีนให้เป็นสายสั้น และน้ำ ย่อยเรนนิน
ตับ ผลิตน้ำดี ย่อยไขมันให้แตกตัวเป็นเม็ดเล็กๆ
ตับอ่อน ผลิตน้ำย่อยลิเพส ย่อยไขมันแตกตัวให้เป็นกรดไขมันและกลีเซอรอล น้ำทริปซิน ย่อยโปรตีนให้เป็นพอลิเพปไทด และไดเพปไทด์
Metabolism Pathway
Glycolysis Pathway
(วิถีไกลโคไลซิส)
เป็นชุดปฏิกิริยาหรือกระบวนการสลายกลูโคส ประกอบด้วย 10 ขั้นตอน
เริ่มจากกลูโคส เป็นสารประกอบที่มีคาร์บอน 6 อะตอม
Krebs’cycle
(วัฏจักรเครบส์)
เป็นกระบวนการเมแทบอลิซึมของอะเซทิลโคเอ
(Acetyl CoA metabolism)
เป็นวิถีร่วมสุดท้ายของการสลายอาหารต่างๆ ที่ให้พลังงาน
เกิดขึ้นใน Mitochondria
Pentose Phosphate pathway
(วิถีเพนโทสฟอสเฟต)
เอนไซม์ Transketolase ต้องการ TPP(Coenzyme มาจาก thiamine)
ความสำคัญในเม็ดเลือดเเดง
เซลล์เม็ดเลือดแดงตัวแก่ (mature red blood cell)
อาศัยการสลายกลูโคสส่วนหนึ่งผ่าน Pentose phosphate pathway เพื่อสร้าง NADPH สำหรับการใช้เปลี่ยน Glutathione ที่เยื่อหุ้มเซลล์ ให้มีความเเกร่ง (integrity)
Gluconeogenesis
(วิถีกลูโคนีโอเจนีซิส)
ผลิต กลูโคส ให้เนื้อต่างๆ
เป็นกระบวนการสร้างกลูโคสขึ้นมาใหม่ จากสารประกอบที่ไม่ใช่คาร์โบไฮเดรต ได้แก่ แลกเทต กล้อซอรอละและกรดอะมิโนบางชนิด
เกิดมากที่ ตับ ไต ลำไส้เล็ก
ร่างการใช้ในกายกำจัดสารที่ได้จากเมแทบอลิซึม ของเนื้อเยื่อต่างๆ ออกไปจากเลือด
กำจัดแลกเทตที่ได้จากกล้ามเนื้อและเม็ดเลือดแดง
กำจัดกลีเซอรล (Glycerol) จากเนื้อเยื่อไขมัน
กำจัดกรดอะมิโนที่เหลือใช้
Glycogen Metabolism
(เมแทบอลิซึมของไกลโคเจน)
เป็นคาร์โบไฮเดรตสะสมที่สำคัญของสัตว์
ส่วนใหญ่สะสมในตับและกล้ามเนื้อ
-ในตับคนที่ได้อาหารเพียงพอจะมีไกลโคเจนสะสมได้มากถึง ร้อยละ 6-10 ของน้ำหนักตับ
-ในกล้ามเนื้อมีไกลโคเจนประมาณร้อยละ 1 ของน้ำหนักกล้ามเนื้อ
โรคเบาหวาน
คือ โรคที่เกิดความบกพร่องของฮอร์โมนอินซูลิน ซึ่งผลิตจากตับอ่อน ทำให้น้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ
เเบ่งออกเป็น 4 ชนิด ตามสาเหตุของการเกิดโรค
โรคเบาหวานชนิดที่ 1
(Type 1 diabetes mellitus,T1DM)
เกิดจาก เซลล์ตับอ่อนถูกทำลาย โดยภูมิคุ้มกันของร่างกาย ทำให้ขาอินซูลิน มักพบในเด็ก
โรคเบาหวานชนิดที่ 2
(They 2 diabetes mellitus T1DM)
เป็นชนิดที่พบบ่อยที่สุด (ร้อยละ 95 ของผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด) เกิดจากภาวะดื้อต่ออินซูลิน มักพบในผู้ใหญ่ หรือผู้ที่มีน้ำหนักเกิน
โรคเบาหวานที่มีสาเหตุจำเพาะ
(Diabetes Other specific types)
มีได้หลายสาเหตุ เช่น โรคของตับอ่อน
โรคทางต่อมไร้ท่อ หรือ ยาสเตียรอยด์ เป็นตัน
โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์
(Gestational diabetes mellitus,GDM)
เป็นโรคเบาหวานที่เกิดขึ้นขณะตั้งครรภ์ มักเกิดเมื่อไตรมาส 2-3 ของการตั้วครรภ์
การดูดซึมคาร์โบไฮเดรต
Monosaccharide
-Glucose
-Galactose
-Fructose
ดูดซึมจากJejunum
ออกจากผนังลำไส้
Capillaries
ไหลเวียนไปตามเส้นเลือด
ตับ
ลำเลียงไปยังเซลล์ต่างๆทั่วร่างกาย
Glucose in the blood
Hypoglycemia
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดน้อยกว่า 70 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
มีโอกาสเกิดขึ้นสูงกับผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ใช้ยาลดน้ำตาลหรือฉีดอินซูลิน
มีอาการ เช่น เหงื่อออก,ไม่มีแรง,เวียนศรีษะ,สับสน,
ผิวหนังเย็น,อ่อนเพลีย,ตาพร่า,หิวบ่อย,ตัวสั่น,ชัก,หมดสติ เป็นต้น
วิธีการดูแลรักษา
-รับประทานอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรต
-ติดตามระดับกลูโคสในเลือด
Hyperglycemia
ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงเกินกว่าเกณฑ์ปกติ คือ มากกว่า 99 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร จะเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ผู้ป่วยเบาหวานจะผลิตอินซูลินไม่เพียงพอ
จะเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ผู้ป่วยเบาหวานจะผลิตอินซูลินไม่เพียงพอ
มีอาการ เช่น กระหายน้ำบ่อย,ปัสสาวะบ่อย,
ปวดศรีษะ,ปวดเมื่อยตัว,เป็นแผลแล้วหายช้า ติดเชื้อและอักเสบได้ง่าย,ผิวแห้งและคัน,เหนื่อย,หิวมากขึ้น เป็นต้น
วิธีการดูแลรักษา
-หมั่นตรวจเช็คระดับน้ำตาลในเลือดเป็นประจำ
-ออกกำลังการสม่ำเสมอ
-จัดตารางอาหารให้เหมาะสม