Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบกล้ามเนื้อ, มีทั้งหมด 792มัด คือประมาณ 40% ของน้ำหนักตัว, ด้านหน้า,…
ระบบกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อในส่วนต่างๆของร่างกาย
กล้ามเนื้อแสดงสีหน้า
กล้ามเนื้อของหนังศีรษะ
Frontalis อยู่ที่หน้าผาก ทำหน้าที่ยักคิ้วขึ้นลง
Occipitalis อยู่ที่ท้ายทอย ทำหน้าที่ดึงหนังศีรษะไปด้านหลัง
กล้ามเนื้อรอบเบ้าตา
Orbiculalis occuli อยู่รอบดวงตา ทำหน้าที่หลับตา
Corrugator supercilii อยู่บริเวณคิ้ว ทำหน้าที่ขมวดคิ้ว
กล้ามเนื้อรอบจมูก
Nasalis อยู่ที่จมูก ทำหน้าที่หุบปีกจมูก เวลาดมกลิ่น
กล้ามเนื้อรอบปาก
Zygomaticus major เกาะอยู่บริเวณโหนกแก้ม – ปากบน ทำหน้าที่ยกปาก
Orbicularis oris อยู่บริเวณรอบปาก ทำหน้าที่หุบปาก
Risorius อยู่ถัดออกมาทางด้านข้างของปาก ทำหน้าที่เวลาแสยะยิ้ม
กล้ามเนื้อที่ทำหน้าที่ในการบดเคี้ยว
Masseter ทำหน้าที่ยกขากรรไกรล่างขึ้น
Buccinator ช่วยในการดูด การเคี้ยวอาหาร การกลืน ผิวปาก
Temporalis ทำหน้าที่ยกขากรรไกรล่างขึ้น ทำให้หุบปากและถอยไปข้างหลัง
กล้ามเนื้อคอ
Platysma ทำหน้าที่ดึงคางลงและริมฝีปากล่างลงมา
Splenius capitis ทำหน้าที่ยืดคอ เอียงคอและเงยหน้า
Sternocleidomastoid ทำหน้าที่เอียงคอ หันและหมุนคอ
Semispinalis capitis ทำหน้าที่ยืดคอ เอียงคอและเงยหน้า
กล้ามเนื้อของช่วงไหล่
Subscapularis ทำหน้าที่หุบและหมุนต้นแขนเข้าทางด้านใน
Pectoralis major ทำหน้าที่หุบและหมุนต้นแขนเข้าทางด้านใน
Deltoid ทำหน้าที่กางแขน
Infraspinatus ทำหน้าที่หุบและหมุนต้นแขนออกด้านนอก
Supraspinatus ทำหน้าที่ช่วย deltoid ในการกางแขน
Teres major ทำหน้าที่หุบและหมุนต้นแขนเข้าด้านใน
Teres minor ทำหน้าที่หมุนต้นแขนออกด้านนอก
กล้ามเนื้อต้นแขน
Biceps Brachii ทำหน้าที่งอต้นแขนและหงายปลายแขน
Brachialis ทำหน้าที่งอต้นแขน
Coracobrachialis ทำหน้าที่งอต้นแขนและหุบต้นแขน
Triceps Brachii ทำหน้าที่เหยียดปลายแขน
กล้ามเนื้อปลายแขน
Pronator teres ทำหน้าที่คว่ำมือและงอต้นแขน
Flexor carpi radialis และ Flexor carpi ulnaris ทำหน้าที่งอข้อมือ
Pronator quadratus ทำหน้าที่คว่ำปลายแขน
Flexor digitorum profundus งอข้อต่อdistal interphalangeal ของนิ้วที่2-5
Extensor carpi ulnaris เหยียดและหุบมือ
Brachioradialis ทำหน้าที่งอปลายแขน
Extensor digitorum เหยียดข้อมือและนิ้วมือ
Extensor carpi radialis brevis เหยียดแขนท่อนล่างและกางข้อมือ
กล้ามเนื้อภายในมือ และนิ้วมือ
กล้ามเนื้อบริเวณด้านหัวแม่มือ
▪Abductor pollicis bravis
▪Flexor pollicis brevis
▪Opponens pollicis
กล้ามเนื้อบริเวณด้านนิ้วก้อย
▪Abductor digiti minimi
▪Flexor digiti minimi
▪Opponens digiti minimi
▪Palmaris brevis
กล้ามเนื้อบริเวณระหว่างด้านนิ้วโป้งและด้านนิ้วก้อย
▪Abductor pollicis
▪Lumbricals
▪Palmar interossei
▪Dorsal interossei
กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจ
External Intercostal ยกกระดูกซี่โครง และเพิ่มปริมาตรช่องอกขณะหายใจเข้า
Internal Intercostal ทำให้ช่องอกเล็กลง
Diaphragm ทำให้ช่วงอกขยายโตขึ้น
กล้ามเนื้อผนังช่องท้องทางด้านหน้าและด้านข้าง
Rectus Abdominus
External Oblique
Internal Oblique
Transverse Abdominis
กล้ามเนื้อผนังช่องท้องด้านหลัง
Quadratus lumborum
Psoas major
Iliacus
กล้ามเนื้อของก้น
Gluteus maximus กางและเหยียดต้นขา
Gluteus Medius และ Gluteus Minimus กางขาและหมุนต้นขาเข้าด้านใน
Tensor fascia lata กางและงอต้นขา
Piriformis กางและหมุนต้นขาออกด้านนอก
Obturator externus หมุนต้นขาออกด้านนอก
Obturator internus กางขาและหมุนต้นขาออกด้านนอก
Superior gemellus และ Inferior gemellus กางและหมุนต้นขาออกด้านนอก
กล้ามเนื้อของก้น
Gluteus maximus กางและเหยียดต้นขา
Gluteus Medius และ Gluteus Minimusกางขาและหมุนต้นขาเข้าด้านใน
Tensor fascia lata กางและงอต้นขา
Piriformis กางและหมุนต้นขาออกด้านนอก
Obturator externus หมุนต้นขาออกด้านนอก
Obturator internus และ Superior gemellus กางและหมุนต้นขาออกด้านนอก
Inferior gemellus กางและหมุนต้นขาออกด้านนอก
กล้ามเนื้อของต้นขา
กลุ่มกล้ามเนื้อทางด้านหน้าและด้านใน
Sartorius
Gracilis หุบต้นขา
Pectineus และAdductor brevis งอและหุบต้นขา
กล้ามเนื้อทางด้านหลัง
Biceps Femoris
Semimembranosus
Semitendonosis
กล้ามเนื้อปลายขา
กลุ่มกล้ามเนื้อด้านหน้า
Tibialis Anterior
Extensor digitorum longus
Extensor hallucis longus
Peroneus Tertius
กล้ามเนื้อด้านนอก
Peroneus longus
Peroneus brevis
กล้ามเนื้อด้านหลัง
Gastrocnemius
Soleus
Plantaris
Popliteus
Tibialis Posterior
ส่วนประกอบสำคัญของกล้ามเนื้อ
คาร์โบไฮเดรต
เป็นการเก็บกลูโคสไว้ในกล้ามเนื้อ เมื่อกล้ามเนื้อหดตัวไกลโคเจนจะถูกนำไปใช้
Glycogen มีประมาณ0.5-1.5%ของน้ำหนักกล้ามเนื้อ
ไขมัน
Cholesterol และ Phospholipids ที่อยู่ในเส้นใยกล้ามเนื้อ
ส่วนมากจะอยู่ที่เนื้อเยื่อพังผืด
โปรตีน
เส้นใย Myosin และเส้นใย Actin
Sarcroplasm
Myogen
Myoglobin
สารที่ทำให้กล้ามเนื้อหดตัว
ATP
ADP
ประเภทของกล้ามเนื้อ
2.กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth muscle)
เป็นกล้ามเนื้อที่มีลักษณะเรียบไม่มีลาย การทำงานอยู่นอกเหนือการควบคุมของจิตใจ
เซลล์มีรูปร่างคล้ายกระสวย (spindle) มี Nucleus อันเดียวอยู่ตรงกลางเซลล์
การควบคุมทางเส้นประสาทและฮอร์โมน
ไม่มีแผ่นปลายประสาทมอเตอร์เหมือนกับกล้ามเนื้อลาย
มีเส้นใยประสาทของระบบประสาทอัตโนมัติมาเลี้ยง
ควบคุมโดยสารเคมีที่ใช้ระหว่างเซลล์ เช่น อะเซทิลโคลีนและนอร์อิพิเนฟริน
เป็นกล้ามเนื้อของอวัยวะภายใน เช่นผนังกระเพาะอาหาร ลำไส้ เป็นต้น
3.กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac muscle)
เซลล์มีรูปร่างเป็นทรงกระบอก พบเฉพาะบริเวณหัวใจเท่านั้น มีแถบและลายคล้ายกล้ามเนื้อลาย แต่เซลล์มีขนาดเล็กกว่า
การทำงานคล้ายกล้ามเนื้อเรียบ (Pacemaker และ Syncytium)
มี Nucleus อยู่ตรงกลางเซลล์ 1 อัน แต่มี Sarcoplasm จำนวนมากล้อมรอบ
เส้นใยของกล้ามเนื้อหัวใจค่อนข้างจะสั้นและมีแขนงแยกออกไปเชื่อมติดกัน
ชนิดของกล้ามเนื้อหัวใจ
1) เซลล์ทำหน้าที่หดตัว (Contractile cell) เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการหดตัวพบได้ที่ผนังหัวใจทั้ง 4 ห้อง
2) กลุ่มเซลล์เพซเมคเกอร์(Pacemaker cell) สร้างกระแสไฟฟ้าได้ด้วยตนเอง
3) กลุ่มเซลล์นำไฟฟ้าพิเศษ (Specialized conduction cell) มีหน้าที่นำสัญญาณไฟฟ้าไปสู่ส่วนต่างๆของหัวใจ
1.กล้ามเนื้อลาย(Skeletal muscle)
เป็นกล้ามเนื้อที่ติดกับกระดูกและข้อต่อ ช่วยให้เกิดการเคลื่อนไหว
เป็นกล้ามเนื้อที่อยู่ภายใต้การควบคุมของจิตใจ เช่น กล้ามเนื้อ แขน ขา ลำตัว เป็นต้น
เซลล์ของกล้ามเนื้อลายมีลักษณะเป็นทรงกระบอกยาวเรียว ภายในเซลล์พบนิวเคลียสรูปไข่หลายอัน
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อลาย
เส้นหนาประกอบด้วยโปรตีนหรือที่เรียกว่าเส้นใยไมโอซิน (Myosin filament)
เส้นบางประกอบด้วยโปรตีนหรือที่เรียบว่าเส้นใยแอ็คทิน (Actin filament)
ชนิดของเส้นใยกล้ามเนื้อลาย
1.เส้นใยกล้ามเนื้อลายแบบหดตัวช้าและต้องใช้ออกซิเจนช่วยในการหดตัว หรือที่เรียกย่อๆ ว่า เส้นใยกล้ามเนื้อลายแบบเอสโอ (SO Fiber)
2.เส้นใยกล้ามเนื้อลายแบบหดตัวเร็วและต้องใช้ออกซิเจนตลอดจนกลูโคสช่วยในการหดตัว หรือที่เรียกย่อๆ ว่า เส้นใยกล้ามเนื้อลายแบบเอฟโอจี (FOG fiber)
3.เส้นใยกล้ามเนื้อลายแบบหดตัวเร็วและต้องใช้กลูโคสช่วยในการหดตัวเพียงชนิดเดียว หรือที่เรียกย่อๆ ว่า เส้นใยกล้ามเนื้อลายแบบเอฟจี (FG fiber)
มีทั้งหมด 792มัด คือประมาณ 40% ของน้ำหนักตัว
ด้านหน้า
ด้านหลัง
ทำหน้าที่งอปลายขา
A6480120 นางสาวพัชฎาภรณ์ สายแก้ว