Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แบบจำลองเครือข่าย (Network Model) - Coggle Diagram
แบบจำลองเครือข่าย (Network Model)
ตัวแบบจําลองเครือข่ายจึงช่วยทําให้ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ที่ทํางานเครือข่ายสามารถติดต่อสื่อสารและทํางานร่วมกันได้แม้จะได้อยู่บนแพลตฟอร์มเดียวกัน
ตัวแบบอ้างอิงโอเอสไอ (OSI Model)
โครงสร้างการทํางานแบบระดับชั้น (Layered Tasks)โดยการทํางานจะทํางานแบบเรียงลําดับและไม่สามารถข้ามขั้นตอนได้แบ่งเป็น 7 ชั้น ดังนี้
ชั้นการขนส่ง (Transport layer)
UDP (User Datagram Protocol)
การจัดการเซ็กเมนต์ (Segmentation)
TCP (Transmission Control Protocol)
การกําหนดหมายเลขประจําตัวพอร์ท (Port addressing)
ควบคุมการเชื่อมต่อ (Connection control)
ควบคุมอัตราการไหลของข้อมูล (Flow control)
ควบคุมความผิดพลาดของข้อมูล (Error control)
ชั้นช่วงเวลา (Sessions layer)
การควบคุมการสื่อสาร (Dialog control)
การประสานเวลาในการรับส่งข้อมูล (synchronization)
ชั้นการนําเสนอ (Presentation layer)
การแปล (Translation)
การเข้าและถอดรหัส (Encryption and Decryption)
การบีบอัดข้อมูล (Compression)
ชั้นเครือข่าย (Network layer)
กําหนด IP Address หรือ Logical Address
กําหนดเส้นทางที่ดีที่สุด (Routing)
ชั้นเชื่อมข้อมูล (Data Link layer)
กําหนดหมายเลขประจําตัวของอุปกรณ์ (Mac address)
ควบคุมอัตราการไหลของข้อมูล (Flow control)
การจัดการเฟรมข้อมูล (Framing)
ควบคุมความผิดพลาดของข้อมูล ( Error control)
ควบคุมการเข้าถึง (Access control)
ชั้นกายภาพ (Physical layer)
การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด (Point-to-Point)
การเชื่อมต่อแบบหลาย (Multipoint)
กําหนดคุณลักษณะของ Interface
กําหนดจํานวนรับส่งบิตข้อมูลภายในหนึ่งนาที
ชั้นการประยุกต์ (Application layer)
ตัวแบบจําลองทีซีพี/ไอพี (TCP/IP)
ตัวแบบที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูล
ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นตัวแบบที่ใช้ในการสื่อสารแบบเป็นระดับชั้นเหมือนกับตัวแบบ OSI แต่ตัวแบบ TCP/IP จะแบ่งเป็น 4 ระดับชั้น
ชั้นเครือข่าย (Network layer)
ชั้นการขนส่ง (Transport layer)
TCP จะต้องมีการสร้างเส้นทางเชื่อมต่อ (Connection-oriented)ข้อมูลที่ทําการรับส่งจากเครื่องต้นทางไปยังปลายทางนั้นจะต้องมีการเรียงลําดับและตรวจสอบความถูกต้องอย่างชัดเจน
UDP โพรโทคอลที่ไม่มีการสร้างการเชื่อมต่อก่อนส่งข้อมูล(Connectionless) เน้นความรวดเร็วในการส่งข้อมูลมากกว่าความถูกต้องและสมบูรณ์เมื่อมีความเสียหายเกิดขึ้นกับข้อมูลจะไม่สามารถติดตามได้ว่าข้อมูลส่วนใดที่เป็นส่วนที่เสียหาย
URG (URGent pointer field significant)
ACK (ACKnowledgment field significant)
PSH (PuSH function)
RST (ReSeT the connection)
SYN (SYNchronize the sequence numbers)
FIN (FINish)
ชั้นเชื่อมต่อ (Link layer)
ชั้นการประยุกต์ (Application layer)
ทํางานเกี่ยวกับส่วนต่อประสานผู้ใช้และการให้บริการกับผู้ใช้โดยจะต้องมีการจัดเตรียมโพรโทคอลที่ใช้สนับสนุนการทํางานร่วมกับซอฟท์แวร์ที่ให้บริการบนระบบเครือข่าย
DHCP ใช้ในการบริหารและจัดสรร IP Address ให้กับโฮสต์
ทุกตัวที่เชื่อมอยู่บนเครือข่ายแบบอัตโนมัติ (dynamic)
DNS ทําหน้าที่เชื่อมต่อระหว่างชื่อโดเมนกับ IP Address
FTP ให้บริการทําสําเนาไฟล์ระหว่างโฮสต์ที่อยู่บนเครือข่าย
SMTP ใช้สําหรับให้บริการ e-mail ให้บริการในรูปแบบ Client-Server
HTTP ใช้สําหรับให้บริการเข้าถึงข้อมูลบน World Wide Web
ซึ่งทํางานร่วมกับเว็บบราวเซอร์ (Web browser)
จุดประสงค์ของการสื่อสารตามมาตรฐาน
สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบเครือข่าย
มีความคล่องตัวต่อการสื่อสารข้อมูลได้หลายชนิดทั้งแบบ
ที่ไม่มีความเร่งด่วน เช่น การจัดส่งแฟ้มข้อมูล
เพื่อใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างระบบที่มีความแตกต่างกันได้ง่ายขึ้น
3-Way Handshake
วิธีในการสร้างช่องทางการสื่อสารสําหรับ
การรับส่งข้อมูลด้วยโพรโทคอล TCP
Client ส่งแพ็คเกต SYN เพื่อขอเชื่อม
ต่อไปยังเครื่อง Server
Server ส่งแพ็คเกต SYN/ACK ตอบ
กลับเครื่อง Client
Client ตอบกลับเครื่อง Server ด้วยแพ็คเกต ACK หลังจากที่เครื่อง Server ได้รับแพ็คเกต ACK แสดงว่าการเชื่อมต่อเสร็จสมบูรณ์จากนั้นเครื่อง Server ก็จะเริ่มรับส่งได้