Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน นางสาวเยาวลักษณ์ วรสาร เลขที่ 9 ห้อง 1…
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
นางสาวเยาวลักษณ์ วรสาร
เลขที่ 9 ห้อง 1 รหัสนักศึกษา 623150310109
:star:
มาตรฐานการศึกษา
ระดับปฐมวัย
:star:
มี 3 มาตรฐาน
:<3:
มาตรฐานที่ 1
คุณภาพของเด็ก
1.1 มีพัฒนาการร่างกาย แข็งแรงมีสุขนิสัยที่ดี
ดูแลความปลอดภัยของตนเองได้
1.2 มีพัฒนาการด้านอารมณ์จิตใจ
ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้
1.3 มีพัฒนาการด้านสังคมช่วยเหลือตนเอง
และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
1.4 มีพัฒนาการด้านสติปัญญาสื่อสารได้
มีทักษะการคิดพื้นฐานและแสวงหาความรู้ได้
:<3:
มาตรฐานที่ 2
กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น
2.2 จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน
2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญ
ด้านการจัดประสบการณ์
2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อ
เพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ
2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
และสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุน
การจัดประสบการณ์สำหรับครู
2.6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาส
ให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม
:<3:
มาตรฐานที่ 3
กระบวนการจัดการเรียนการสอน
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
3.1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็ก
มีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ
3.2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง
เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข
3.3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อ
และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย
3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง
และนำผลการประเมินพัฒนาการเด็ก
ไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก
:star:
มาตรฐานการศึกษา
ระดับขั้นพื้นฐาน
:star:
มี 3 มาตรฐาน
:<3:
มาตรฐานที่ 1
คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ
มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ตามหลักสูตรสถานศึกษา
มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์
คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน
มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน
และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
มีความสามารถในการอ่าน การเขียน
การสื่อสาร และการคิดคำนวณ
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี
ตามที่สถานศึกษากำหนด
ความภูมิใจในท้องถิ่น
และความเป็นไทย
ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกัน
บนความแตกต่างและหลากหลาย
สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม
:<3:
มาตรฐานที่ 2
กระบวนการบริหารและการจัดการ
มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจ
ที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่
เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน
ตามหลักสูตรสถานศึกษา
และทุกกลุ่มเป้าหมาย
พัฒนาครูและบุคลากร
ให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
และสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้
อย่างมีคุณภาพ
จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ
และการจัดการเรียนรู้
:<3:
มาตรฐานที่ 3
กระบวนการจัดการเรียนการสอน
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง
และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ
และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนา
และปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
:star:
มาตรฐานการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน (ศูนย์การศึกษาพิเศษ)
:star:
มี 3 มาตรฐาน
:<3:
มาตรฐานที่ 1
คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลการพัฒนาผู้เรียน
มีพัฒนาการตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
ที่แสดงออกถึงความรู้ความสามารถทักษะ
ตามที่ระบุไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
หรือแผนการให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว
มีความพร้อมสามารถเข้าสู่บริการช่วงเชื่อมต่อ
หรือการส่งต่อเข้าสู่การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น
หรือการอาชีพหรือการดำเนินชีวิตในสังคมได้
ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
1.2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่สถานศึกษากำหนด
มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
ตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคล
:<3:
มาตรฐานที่ 2
กระบวนการบริหารและการจัดการ
มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจ
ที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
ดำเนินงานพัฒนาวิชาการ
ที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน
ตามหลักสูตรสถานศึกษา
และทุกกลุ่มเป้าหมาย
พัฒนาครูและบุคลากร
ให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
และสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการเรียนรู้
:<3:
มาตรฐานที่ 3
กระบวนการจัดการเรียนการสอน
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด
และปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้
ในชีวิตได้
ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
4.ตรวจสอบและประเมินผู้เรียน
อย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
5.มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนา
และปรับปรุงการจัดการเรียนรู้