Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับความปวด, ทฤษฎีความปวด, น.ส. ฐิติมา…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับความปวด
สาเหตุ
การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ
การอักเสบหรือติดเชื้อ
การขาดเลือด
ระบบประสาทถูกทำลาย
โรคมะเร็ง
การหดเกร็งกล้ามเนื้อ
การขยายตัวของอวัยวะ
Gate control theory
dorsal horn ของไขสันหลัง ที่เรียกว่า Transmission cell (T-cell) แล้วส่งสัญญาณกลับมาเพิ่มการกระตุ้น T- cell ทำให้อาการปวดมีมากขึ้นหรือลดลง ควบคุมความปวดอาจทำได้โดยลดการรับความรู้สึก เช่น การให้ยาชา หรือลดการรับรู้โดยการหันเหความสนใจต่อความปวด ทำให้อาการปวดลดลง
ทฤษฎีควบคุมความเจ็บปวดภายใน (endogenous pain control theory)
พบในที่อื่นที่ไม่เกี่ยวกับทางเดินประสาทรับความเจ็บปวด แต่เกี่ยวข้องกับการตอบสนองทาง อารมณ์ จากการค้นพบตัวรับโอพิเอ็ท จึงคิดว่าน่าจะมีสารในร่างกายที่สามารถไปจับตัวรับโอพิเอ็ทนี้ และได้พบ สารที่มีคุณสมบัติคล้ายมอร์ฟีนในร่างกาย (endogenous morphine-like peptides) สารคล้ายมอร์ฟีน
การตอบสนองต่อความปวด
ต่อมไร้ท่อ มีผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูง
การเผาผลาญ น้ำตาลในเลือดสูง ภาวะดื้อต่ออินซูลิน
หัวใจและหลอดเลือด ทไให้หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง หัวใจเต็นผิดจังหวะ
ทางเดินปัสสาวะ เกิดปัสสาวะคั่ง
ทางเดินอาหารมีอาการท้องอืด
การประเมิน
ให้ผู้ป่วยบอก
0-10
ลักษณะความปวด
ตำแหน่ง
สังเกตพฤติกรรม การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
การจัดการความปวด
ผู้ป่วยที่มีความปวดเรื้อรัง การใช้ยาจะเริ่มจากบันไดขั้นที่1 และเพิ่มระดับขั้นบันไดตามความรุนแรงของความปวด
ผู้ป่วยที่มีความปวดแบบเฉียบพลัน การใช้ยาจะเริ่มจากบันไดขั้นที่ 3
ยาระงับปวดจากฝิ่น
ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
ให้ยาระงับโดยให้ผู้ป่วยควมคุม
คะแนนความง่วงซึม >2คะแนน
การหายใจ < 8ครั้ง/นาที
ยากลุ่ม NSAID (non-steroidal)
อาการข้างเคียง เลือดออกจากแผลในกระเพาะอาหาร
โดยไม่ใช้ยา
การให้ยาเทียม
การเบี่ยงเบนความสนใจ
ส่งเสริมให้มีการผ่อนคลาย
การนวดและการสัมผัส
ทฤษฎีความปวด
น.ส. ฐิติมา ทิพย์สวัสดิ์ 116212201090-0