Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความดันโลหิตสูงวิกฤต (Hypertensive crisis), USER_SCOPED_TEMP_DATA_orca…
ความดันโลหิตสูงวิกฤต (Hypertensive crisis)
พยาธิสรีรวิทยา
เพิ่มจาก hypertension คือมีการทำลายหลอดเลือดมากขึ้นตามอวัยวะเป้าหมายต่างๆและร่วมกับอวัยวะอื่น ๆ ด้วยเช่นการทำหน้าที่ของไตบกพร่องมี wbc, Rbc รั่วออกมาในปัสสาวะ Azotemia พบยูเรียและไนโตรเจนในเลือดโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงแตกในหลอดเลือดฝอยที่มีความผิดปกติ Left Ventricular Failure หัวใจเต้นเร็วรัวผิดจังหวะหัวใจโต Ischemic heart disease น้ำท่วมปอด Increase Intra Cranial Pressure Stroke
การรักษา Hypertensive crisis
ลดให้เหลือ 160/100 mmHg ยาที่ใช้ ได้แก่ -Sodium nitroplusside + 5% D / พ Vein drip ป้องกันแสง-Nicardipine โดยปรับอัตราการหยดขึ้น – ลง (tritrate) เพื่อให้ได้ปริมาณตามระดับความดันโลหิตที่ควรจะเป็นยา
Sodium nitroplusside
*
•ใช้รักษาความดันโลหิตสูงวิกฤติเริ่มแรกใช้ขนาด 0.3 mcg / kg / min หยดเข้าหลอดเลือดดำ (ห้ามฉีดทีเดียว) ยาจะเริ่มออกฤทธิ์ประมาณ 30 วินาทีหลังให้ยาปรับอัตราการหยดตามความดันโลหิตทุก 5 นาทีสูงสุดมาเกิน 10 mcg / kg / min (อัตราตั้งแต่ 2 mcg / kg / min) จะเริ่มมีไซยาไนด์สะสมในเลือดอัตราที่เกิน 10 mcg / kg / min และจะเกิดพิศของไซยาไนด์ภายใน 1 ชั่วโมง) ระหว่างที่ให้ยาต้องติดตามภาวะ Metabolic acidosis และระดับของกรด Lactic ในเลือดเป็นระยะเมื่อความดันลดลงแล้วจงให้ยาความดันตัวอื่นเข้าไปแทนร่วมกับปรับลดอัตราการหยดของโซเดียมไนโตรพรัสไซด์จนหยุดได้
*การผสมยาและความคงตัวของยา
สารละลายที่ผสมเข้ากันได้: D5W, NSS, LRI ความคงตัวหลังผสมเก็บยาให้พ้นแสงยามีความคงตัวหากผสมใน D5W ได้นาน 24 ชั่วโมงทั้งในตู้เย็นและอุณหภูมิห้อง, หากมีสีเปลี่ยนเป็นเข้มขึ้น (ส้ม, น้าตาลเข้ม, น้าเงิน) ห้ามใช้เนื่องจากเกิดการสลายตัวของยาซึ่งจะปลดปล่อย cyanide ออกมาขณะให้ยาต้องใช้อลูมิเนียมฟอล์ยหรือผ้าทึบหุ้มขวดยาและสายน้ำเกลือจนถึงจุดให้ยา
*อาการไม่พึงประสงค์
Excessive hypotension, cyanide toxicity
*แนวทางการติดตามยา
ตรวจวัด BP, HR เพื่อติดตามผลการรักษาและเฝ้าระวังภาวะ acidosis เฝ้าระวังภาวะ acidosis เนื่องจากเป็นภาวะเริ่มต้นของการเกิด cyanide toxicity กรณีให้ยานานกว่า 4 วัน
*แนวทางการบริหารยา
IV infusion เท่านั้นห้ามให้ IV push ระวังชื่อยาคล้ายกับ Nitroglycerin, Nitroglycerol ระวังการใช้ชื่อย่ออาจทำให้สับสนเช่น NTG, SNP
*ข้อห้ามใช้
-Treatment of compensatory hypertension, Controlled hypotension during surgery in patients with inadequate cerebral circulation Use during emergency surgery in patients near death.
-Congenital (Leber's) optic atrophy or tobacco amblyopia (associated with absent or deficient thiosulfate sulfurtransferase; patients have unusually high cyanide to thiocyanate ratios).
-Treatment of acute CHF associated with reduced peripheral vascular resistance.
Nicardipine
ข้อบ่งใช้ใช้ควบคุมความดันโลหิตเมื่อยาลดความดันโลหิตชนิดรับประทานใช้แล้วไม่ได้ผลหรือกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถรับประทานยาได้โดยใช้ในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ และใช้ควบคุมความดันโลหิตในผู้ป่วยที่มีภาวะ Hypertensive crisis เช่นในผู้ป่วยที่มีภาวะ Eclamsia,, Hypertensive encephalopathy หรือในผู้ป่วยที่ต้องการลดความดันโลหิตอย่างรวดเร็วในช่วงเวลาสั้น ๆ
การดูแลที่จำเป็นในภาวะวิกฤต
วัดสัญญาณชีพตลอดเวลาสม่ำเสมอเช่นทุกครั้งที่ปรับยา
ขวดยาต้องมีฉลากบอกชัดเจนใช้เครื่องนับหยดสารละลาย
ปรับยาตามแผนการรักษาปริมาณที่ให้ตรงกับการรักษา
บันทึก NS, VS อาการและอาการแสดงดูแลอาการเปลี่ยนแปลงถ้ามีรายงานแพทย์
I / O
ระวังความดันลดจนต่ำเกินไป
นอนท่าศีรษะสูงยาบางตัวออกฤทธิ์ดีในท่านี้
เป็นภาวะที่ร่างกายมีระดับความดันโลหิตสูงกว่าปกติมากๆ ในระยะเวลาสั้น โดยที่ไม่มีเกณฑ์แน่นอนที่วัดว่าสูงระดับใด แต่โดยทั่วไปอาจประมาณได้ว่า มีความดันโลหิตสูงกว่า 180/110 mmHg ซึ่งเกิดจากผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงอยู่แล้วไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิต ให้ลดลงเข้าสู้ระดับปกติได้
ความหมาย
ภาวะที่มีความดันโลหิตสูงมากต้องการการลดความดันโลหิตรวดเร็วทันทีส่วนใหญ่ Diastolic> 140 mmHg และมีพยาธิสภาพรุนแรงที่อวัยวะเป้าหมายเช่นหัวใจหลอดเลือดสมองตาและไต (Kaplan, 1992)
สาเหตุ
การหยุดยาในกลุ่ม Alpha2 agonist (Clonidine,Methyldopa) แบบทันที
การใช้ยาที่ยับยั้งการเก็บกลับของสารสื่อประสาทจำพวก แคทติโคลามีน ร่วมกับ ยากลุ่ม ยับยั้งเอนไซม์ monoamine oxidase
ผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง ไม่สามารถควบคุมความดันโลหิตสูงให้อยู่ในระดับปกติได้ จึงเกิดความดันโลหิตสูงวิกฤตขึ้น
ความดันโลหิตสูงวิกฤตแบ่งเป็น 2 ชนิด
Hypertensive urgency
แก้ไขภาวะที่ระดับความดันโลหิตสูงวิกฤต แต่ยังไม่พบผลเสียต่ออวัยวะสำคัญ เช่น สมอง หลอดเลือด หัวใจ ไต ตา ซึ่งจะพบผู้ป่วยได้ทั้งที่ไม่มีอาการแสดง และมีอาการแสดง เช่น ปวดศีรษะรุนแรง (รับประทานยาบรรเทาปวด ยังไม่รู้สึกดีขึ้น) คลื่นไส้ อาเจียน วิตกกังวล หายใจถี่ เจ็บบริเวณหน้าอก โดยทั่วไปพบระดับความดันโลหิตสูงกว่า 180/110 mmHg ภาวะนี้ต้องเร่งรักษาเพื่อป้องกันไม่ให้ความดันโลหิตสูงไปทำลายอวัยวะสำคัญ
มีความต้องการลดความดันโลหิตภายใน 1 ชม. เช่นมีอาการทางสมอง (hypertensive encephalopathy) มีเลือดออกในสมองเลือดเซาะผนังหลอดเลือด Aorta (acute aortic HT จาก Pheochromocytoma เป็นภาวะที่ต้องให้การรักษาอย่างทันที
Hypertensive emergency
แก้ไขระดับความดันโลหิตสูงวิกฤต และพบผลเสียต่ออวัยวะสำคัญ เช่น ภาวะที่ความดันโลหิตสูงมากทำให้ เลือดออกในสมอง สมองขาดเลือด ชัก สับสน ที่หัวใจเกิด หัวใจขาดเลือด หัวใจล้มเหลว น้ำคั่งในปอด ไตวาย และ ความดันในลูกตาสูง โดยทั่วไปพบระดับความดันโลหิตสูงกว่า 220/140 mmHg ต้องรีบรักษาโดยเร่งด่วนเพื่อลดความเสี่ยงที่เป็นอันตรายถึงชีวิต
ต้องการลดความดันโลหิตเร่งด่วน แต่น้อยกว่าแบบฉุกเฉินเช่นในภาวะความดันโลหิตสูงชนิดร้ายแรง (malignant hypertension) ความดันโลหิตสูงกะทันหันหลังหยุดยาลดความดันโลหิตความดันโลหิตสูงหลังการผ่าตัดไต
การพยาบาล
เนื่องจากผู้ป่วยมีอาการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งอาการและระดับความดันโลหิตพยาบาลต้องดูแลแบบทดแทนทั้งหมดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ได้แก่ ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจาก ICP การตกเลือดในสมองฤทธิ์ข้างเคียงของยาภาวะพร่องออกซิเจน