Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงการควบคุมการเจริญ เติบโตและเมตาบอลิสมของต่อมไรท่อ, download,…
การเปลี่ยนแปลงการควบคุมการเจริญ เติบโตและเมตาบอลิสมของต่อมไรท่อ
Pancreas
ต่อมผสม
มีท่อ = น้ำดี
ไร้ท่อ = hormone
Islet of Langerhans
B-cell (Beta-cell) สร้าง Insulin ถ้าขาดจะเป็นเบาหวาน
D cell (Delta-cell) สร้าง spmatosatatin
A cell (alpha-cell) สร้าง glucagon
F-cell สร้าง pancreatic polypeptde
Thymus gland
เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน
พบ thymic corpuscle คล้ายถั่ว หอมผ่าซีก ต่อมในต่อมไทมัส
สร้างฮอร์โมน thymosin,thymic hormone factor ,thymopoetin กระตุ้นการทํางานของ T-cell
Thyroid gland
parafollicular cell (c-cell) สร้าง calcitonin
Thyroid H.
T3.T4 ควบคุม metabolism ของร่างกาย
follicular cell
active
columnar cell
inactive
simple squmous cell
calcitonin H.
เกี่ยวข้องกับ metabolism ของ CaและP
คล้ายผีเสื้อมี 2 พูเชื่อมด้วย Isthmus
โรคเบาหวาน (Diabetes mellitus : DM,Diabetes)
เป็นโรคที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับการนําน้ำตาลไปใช้ประโยชน์อันเกี่ยวเนื่องกับความบกพร่องของฮอร์โมนอนิ ซูลิน ทําให้ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่า ปกติ หากปล่อยให้ร่างกายอยู่ในสภาวะนี้เป็นเวลานานจะทําให้อวัยวะต่างๆเสื่อม
สาเหตุของโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานมีสาเหตุมาจากการบกพร่องของฮอร์โมนอินซูลิน ผู้ที่เป็นเบาหวานจะพบว่าตับอ่อนผลิตอินซูลินได้น้อยหรือผลิตไม่ได้เลย หรือผลิตได้ปกติ แต่ประสิทธิภาพของอินซูลินลดลง เช่น ที่พบในคนอ้วน ซึ่งเรียกว่า “ภาวะดื้อต่ออินซูลิน” (Insulin resistance)
ชนิดของเบาหวาน
เบาหวานขณะตั้งครรภ์(Gestational diabetes mellitus : GDM) พบได้ประมาณ 2-5% ของเบาหวานทั้งหมด โดยในขณะตั้งครรภ์รกจะสร้างฮอร์โมนหลายชนิดเข้าไปในร่างกายหญิงตั้งครรภ์ (ซึ่งฮอร์โมนบางชนิดจะมีฤทธิ์ต่อต้านฮอร์โมนอินซูลิน) จึงทําใหเ้กิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน
เบาหวานชนิดที่ 2 (Type 2 diabetes mellitus) ซึ่งแต่เดิมผู้ป่วยในกลุ่มนี้จะเรียกว่า “เบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน” (Non-insulin-dependent diabetes mellitus : NIDDM) เป็นเบาหวานชนิดที่พบได้เป็นส่วนใหญ่ประมาณ 90-95% ของเบาหวานทั้งหมด เมื่อพูดถึงโรคเบาหวาน จึงมักหมายถึงเบาหวานชนิดนี้โดยเบาหวานชนิดที่ 2 นี้มักพบในผู้ที่มีอายุมากกว่า 30-40 ปีขึ้นไป
เบาหวานชนิดที่ 1 (Type 1 diabetes mellitus) ซึ่งแต่เดิมผู้ป่วยในกลุ่มนี้จะเรียกว่า “เบาหวานชนิดพึ่งอินซูลิน” (Insulin-dependent diabetes mellitus : IDDM) เป็นเบาหวานชนิดที่พบได้น้อยประมาณ 5% ของเบาหวานทั้งหมด แต่มีความรุนแรงและอันตรายสูง อาการของโรคจะมีการพัฒนาอย่างรวดเร็วและเกิด ขึ้นแบบเฉียบพลัน เบาหวานชนิดนี้มักพบในเด็กและผู้ที่มีอายุต่ำกวา่ 20 ปี
เบาหวานที่มีสาเหตุจําเพาะอื่นๆ เช่น เบาหวานที่เกิดจากการใช้ยาบางชนิด (เช่น ยาสเตียรอยด์ยาขับปัสสาวะไทอะไซด์ฮอร์โมนไทรอยด์กรดนิโคตินิก), เบาหวานที่พบร่วมกับโรคหรือภาวะผิดปกติทางกรรมพันธุ์
ฮอร์โมนเพศ
Testis
สร้าง sperm
Leydig cells สร้าง testosterone ควบคุมความเป็นชาย
Ovary
สร้างไข่
corpus luteum เป็น lutein cells สรา้ง estrogen และ
progesterone
Adrenal gland
Adrenal cortex
zona fasciculata
สร้าง cortisaol ต้านความเครียด
zona reticularis
สรา้ง androgen
ชาย เพิ่มความเป็นชาย
หญิง ถูกเปลี่ยนเป็น estrogen
zona glomerulosa
ควบคุมสมดุลน้ำและเกลือแร่
สร้าง aldosterone
Adrenal medulla
ผลิต epinephrin (adrenalin)
ผลิต norepinephrine (noradrenalin)
cromaffin cells
Endrcrine glands
หน้าที่
นําข่าวสารจากเซลล์กลุ่มหนึ่งไปยังงอีก กลุ่มเพื่ออควบคุมการทํางานของร่างกาย
การทํางาน
Receptor ของเซลล์เป้าหมาย
ระบบไหลเวียน
ฮอร์โมน
เซลล์เป้าหมาย
เซลล์ที่สร้างฮอร์โมน
ลักษณะ
ใช่เส้นเลือดในการลําเลียงสารแทน
สร้างสารเคมีที่มีฤทธิ์จำเพาะต่ออวัยวะเป้าหมาย เรียกว่า ฮอร์โมน
ประกอบด้วยเซลล์เรียงตัวกันหลายแบบ EX. เป็นแถว เป็นถุง เป็นกลุ่มก้อน โดยเซลล์มีการสัมผัสใกล้ชิด กับหลอดเลือดภายในต่อม
ต่อมที่ผลิตและหลั่งสารเคมีที่เรียกว่า ฮอร์โมนลําเลียงเข้าสู่อวัยวะเป้าหมาย
โรคเบาหวาน
insulin น้อยกว่าปกติ
ประเภท
ไม่ต้องพึ่ง insulin
เกิดขณะตั้งครรภ์
พึ่ง insulin
ชนิดอื่นที่มีสาเหตุเฉพาะ
Pt.มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่า ปกติ (ปกติ=90mg/100ml)
Pineal gland
pinealocyte
นิวเคลียสใหญ่ ไซโทพลาซึมติดสีจาง
มีการสร้างเมลาโทนินโดยเมลาโทนินหลั่ง มากในช่วงกลางคืน
neuroglia
คล้าย astrocyte แทรกใน pinealocyte
มีnucleus เล็กรูปร่างยาวติดสีเข้มกว่า pinealocyte
ต่อมไพเนียลเจริญ เมื่ออายุประมาณ 7 ภายในต่อมมีbrain sand สะสมอยู่นอกเซลล์เป็นสารแคลเซียมฟอสเฟต
Parathyroid gland
chief cells
มีขนาดเล็ก จํานวนมาก ผลิต Parathyroid H.
oxyphil cells
มีขนาดใหญ่ จํานวนน้อย
parathyroid H.ควบคุม eq. Ca และ P ทํางานรว่ มกับ
calcitonin
Pituitaly gland
2 ส่วน
anterior pituitary : พัฒนามาจากผิวชั้นนอกของเนื้อเยื่อในปาก
posterior pituitary : เจริญยื่ลงมาจากสมองส่วน hypothalamus
การเจริญของต่อมใต้สมอง
anterior pituitary แบ่งออกเป็น 3 ส่วน
Pars intermedia
กระตุ้นให้สร้างเม็ดสีเมลานิน
Pars tuberalis
หลั่ง FSH,LH,ACTH
Pars distalis
chromophobes
cell ขนาดเล็ก ย้อมไม่ติดสี(สีจาง)
chromophils
acidophill (A cells) : ติดสีกรดหรือสีชมพูขนาดเล็ก
basophill (B cells) : ติดสีด่างหรือสีน้ำเงินขนาดใหญ่
posterior pituitary
ต่อมใต้สมองส่วนหลังไม่ได้สรา้ง H.แต่เป็นการเก็บ H. ที่สรา้งมาจาก Hypotalamus
ประกอบด้วย
pituicytes
blood vessels,connective tissue
เส้นใยประสาท
herring bodies
แบ่งออกเป็น 3 ส่วน
pars nervosa
Median eminence
Infundibular stalk
antidiuretic H.(ADH)
ADH มาก = น้ำปัสสาวะน้อย
ADH น้อย = น้ำปัสสาวะมาก
ผลที่ท่อไตคือเพิ่มการดูดกลับของน้ำ
เจริญมาจาก oral ectoderm
ต่อม pituitaly มีก้านสมองส่วน hypothalamus เรียก pituitaly stalk
oxytocin
กระตุ้นการคลอด มีผลกระตุ้นกล้ามเนื้อเรียบที่ผนังมดลูก
ความผิดปกติของ GH
หลั่ง GH มากในวัยเด็ก ทําให้เกิดตัวโตเหมือนยักษ์
หลั่ง GH มากในวัยผู้ใหญ่ ทําใหม่กระดูกมือและเท้าใหญ่
ขาด GH วัยเด็ก ทําให้เกิดภาวะเตี้ยแคระ
กระตุ้นการหลั่งน้ำนม
กระดูก sphenoid เรียกว่า แอ่ง sella turcica
Hormone
การควบคุมการทํางานของ H.
ควบคุมโดยระบบประสาท EX. ระบบประสาทสร้าง H. มาควบคุมการทํางานของต่อมไร้ท่อ
ควบคุมโดยฮอร์โมน EX. ต่อมใต้สมองส่วนหน้าสร้าง H. ควบคุมให้ต่อมไทรอยด์สร้าง H. เพิ่ม
การควบคุมแบบย้อนกลับ
เชิงบวก
H.น้อยเดินทําให้หน้าที่กระตุ้นให้ต่อมสรา้งและหลั่ง H. มากขึ้น
เชิงลบ
H.ในเลือดมากทําให้หน้าที่ยับยังการสร้างและหลั่ง H. ของต่อม ทําให้ H.ลดลง
ตัวรับของฮอร์โมน
อยู่บริเวณเยื่อหุ้ม เซลล์รับ H. ที่ไม่ละลายไขมัน มีโมเลกุลขนาดใหญ่ EX. nonsteroid hormones
อยู่ภายในเซลล์รับ H. ละลายในไขมัน มีโมเลกุลขนาดเล็ก EX. steriod
ฮอร์โมนจากทางเดินอาหาร zona glomerulosa
gastrin
สรา้งจาก G-cell บรเิวณกระเพาะอาหารส่วน antrum +
ลําไส้เล็กส่วนต้น
กระตุ้น chief cell หลั่ง เอนไซม์pepsinogen
secretin
สร้าง s-cell บริเวณลําไส้เล็กดูโดอินัม
สนับสนุน CCK
cholecystolinin
สรา้งมาจาก J-cell ลําไส้เล็กส่วนต้น
กระตุ้นการสร้างและหลั่งน้ำย่อยจากตับอ่อน
enterogastron
สร้างจากลําไส้เล็ก
ลดการเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหาร
ฮอร์โมนจากรก
เป็นไกลโคโปรตีนผลิตฮอร์โมน syncytiotrophoblastic cells ของรก
สร้าง Human Chorionic Gonadotropin (HCG)
คล้าย LH ยับยัง+ corpus luteum ไม่ให้สลาย
Hypothalamus
releasing and inhibiting H.
Hormone
Adenocorticotropic H.(ACTH)
กระตุ้นต่อมหมวกไต ให้หลั่ง cortisal
FSH และ LH
กระตุ้นการสร้างฮอร์โมนเพศ
Tryroid stimulating H.
กระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้สร้างและหลั่ง Thyroid H.
Prolactin
กระคุ้นการสร้างน้ำนม
Growth H.
กระตุ้นการเจริญเติบโต
Endrophins
สารแห่งความสุข
producing oxytocin
and vasopressin
Antidiuretic H. (ADH)
Supraopticbnucleus = ADH
Paraventricular nucleus = oxytocin
นายพลกฤษ สีดาห้าว UDA6380001