Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อจำกัดและเงื่อนไงในการประกอบวิชาชีพ - Coggle…
ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อจำกัดและเงื่อนไงในการประกอบวิชาชีพ
แบ่งเป็น 4 หมวด
หมวดที่ 1 บททั่วไป
หมวดที่ 2 การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
หมวดที่ 3 การรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกัน
หมวดที่ 4 การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
หมวดที่ 1 (ข้อ 4 )
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน หมายถึง การได้รับบาดเจ็บกระทันหัน จำเป็นต้องได้รับการประเมินการจัดการและการบำบัดรักษาอย่างทันท่วงที
การเจ็บป่วยวิกฤต หมายถึง การเจ็บป่วยที่มีความรุนแรงถึงขั้นที่อาจทำให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตหรือพิการได้
การรักษาโรคเบื้องต้น หมายความว่า กระบวนการประเมินภาวะสุขภาพทั้งการซักประวัติ การตรวจร่างกาย การวินิจฉัย
การปฐมพยาบาล หมายถึง การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้บาดเจ็บหรือผู้ป่วย เพื่อบรรเทาอาการ
การให้ภูมิคุ้มกัน หมายถึง กระบวนการที่ทำให้ร่างกายสร้าง หรือเกิดภูมิคุ้มกัน หรือมีภูมิต้านทานต่อโรค
หมวดที่ 2 (ส่วนที่ 1 การพยาบาล ข้อ 5-8)
ข้อ 5
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง กระทำการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาล
5.1 การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล การตรวจประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและการบาดเจ็บ
5.2 การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษาและการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
5.3 การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการส่งเสริมสุขภาพการป้องกัน การควบคุม และ การแก้ปัญหาความเจ็บป่วยหรือวิกฤต
5.4 การปฏิบัติการพยาบาลตามแผนการพยาบาล หรือแผนการรักษาของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม การใช้เครื่องมือพิเศษ การติดตามผล รวมทั้งการประสานทีมสุขภาพ
5.5 การให้การพยาบาลที่บ้านและการส่งเสริมความสามารถของบุคคล ครอบครัว และชุมชน เพื่อใช้ชีวิตอย่างปกติสุข
ข้อ 6
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
6.1 ห้ามให้ยา หรือสารละลายในช่องรอบเยื่อบุไขสันหลัง หรือสวนทางหลอดเลือดดำส่วนกลาง
6.2 ห้ามให้ยา หรือสารละลาย หรือสารที่เกี่ยวข้องกับรังสีวินิจฉัย และยาอื่น ตามที่ สภาการพยาบาลประกาศกำหนด
เรื่องห้ามมิให้ยาหรือสารละลายทางหลอดเลือดดำ
1.1 กลุ่มสารละลายทึบรังสี ทุกชนิด
1.2 กลุ่มยาระงับความรู้สึกที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
1.3 กลุ่มยาเคมีบำบัดเว้นแต่ได้ปฏิบัติตามข้อ 2
ข้อ 7
การผดุงครรภ์ ชั้นสอง การพยาบาลที่ไม่ยุ่งยาก หากยุ่งยากซับซ้อน จะต้องกระทำร่วมกับผู้ประกิบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง
ข้อ 8
พยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นสอง ให้ยาผู้รับบริการได้เฉพาะการให้ยาทางปากและยาภายนอก
หมวดที่ 2 (การทำหัตถการ ข้อ 9 )
9.1 การทำแผล ตกแต่งบาดแผล เย็บแผล ตัดไหม ใช้ยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่ แผลไหม้ใช้ไม่เกินระดับ 2 ของแผล
9.2 การผ่าตัดเอาสิ่งแปลกปลอม ผ่าฝี ผ่าตัดตาปลา
เลาะก้อนใต้ผิวหนัง ใช้ยาระงับความรู้สึกทางผิวหนัง หรือการฉีด
9.3 การถอดเล็บ จี้หูดฟรือตาปลา ใช้ยาระงับความรู้สึกทางผิวหนัง หรือฉีดยาเฉพาะที่
9.4 การให้ออกซิเจน
9.5 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อภาวะช็อค
9.6 การให้ยา ทางปาก ผิวหนัง หลอดเลือดดำ
9.7 การให้เลือด
9.8 การเปิดทางเดินหายใจให้โล่งด้วยการดูดเสมหะ เคาะปอด
9.9 การช่วยฟื้นคืนชีพ
9.10 การเช็ดตา ล้างตา หยอดตา ป้ายตา ปิดตา ล้างจมูก
9.11 การสอดใส่ยางลงไปในกระเพาะอาหาร เพื่อให้อาหาร ยา หรือการล้างกระเพาะอาหาร
9.12 การสวนปัสสาวะ การเปลี่ยนายสวนปัสสาวะ
9.13 การสวนทวารหนัก
9.14 การดาม หรือการใส่เฝือกชั่วคราว
9.15 การตรวจมะเร็งเต้านม
9.16 การเจาะเก็บตัวอย่างเลือดจากหลอดเลือดดำ
9.17 หัตถการอื่นๆ
หมวดที่ 3 (การรักษาโรคเบื้องต้น ข้อ 10-15)
ข้อ 12
12.1ตรวจวินิจฉัย
12.2 ให้ส่งผู้ป่วยไปรับการบำบัดรักษาจากผู้ประกอบวิชาชีพอื่น
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ต้องกระทำการรักษาโรคเบื้องต้น และการให้ภูมิคุ้มกันโรค
ข้อ 13
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ให้ใช้ยาได้ตามคู่มือการใช้ยาที่สภาการพยาบาลกำหนก
ข้อ 14
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ต้องปฏิบัติตามแนวทางการให้ภูมิคุ้มกันโรค
ข้อ 15
ต้องมีบันทึกรายงานประวัติของผู้ป่วย เก็บบันทึกและรายงาน ไว้เป็นเวลา 5 ปี
ข้อ 11
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาล ชั้นหนึ่ง ที่ผ่านการอบรมตามหลักสูตรที่สภาการพยาบาลประกาศกำหนด
ข้อ 10
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ให้กระทำการประกอบวิชาชีพการพยาบาลตามข้อกำหนดของสภาการพยาบาลในการรักษาโรค
หมวดที่ 4 การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
ส่วนที่ 1 การพยาบาลก่อนการตั้งครรภ์ ระยะตั้งครรภ์
ข้อ 16 ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์และพยาบาลการผดุงครรภ์ ชั้หนึ่ง ให้การผดุงครรภ์แก่หญิงและครอบครัว
16.1 ตรวจประเมินภาวะสุขภาพของหญิงและคู่สมรส
16.2 ตรวจประเมินภาวะการตั้งครรภ์ด้วยเวชภัณฑ์
16.3 การรับฝากครรภ์
ข้อ 17 แนะนำหญิงมีครรภ์ให้ได้รับการตรวจและรักษา
ข้อ 18 ส่งต่อหญิงมีครรภ์กลุ่มเสี่ยง หรือการตรวจพบภาวะครรภ์เป็นพิเศษ
ส่วนที่ 2 การพยาบาลระยะคลอด
ข้อ 19 ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์และพยาบาลการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ทำได้แต่เฉพาะรายที่ตั้งครรภ์ปกติ
ข้อ 20 ผู้ประกอบวิชาชีพการผุงครรภ์และการพยาบาลการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ให้การผดุงครรภ์หญิงมีครรภ์ ระยะก่อนคลอด
20.1 ประเมินหญิงมีครรภ์
20.2 ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ข้อ 21 การพยาบาลระยะคลอด
ข้อ 22 ช่วยเหลือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมทำคลอด ที่คลอดผิดปกติ
ข้อ 23 ห้ามเจาะน้ำคร่ำ ทำคลอดที่มีความผิดปกติ ล้วงรก กลับท่าของทารกในครรภ์ ใช้มือกดท้องขณะคลอด เย็บซ่อมฝีเย็บที่มีการฉีกขาดระดับ3 การทำแท้ง
ข้อ 24 ผู้ประกอบวิชาชีพผดุงครรภ์และการพยาบาล ชั้นหนึ่ง จะทำการช่วยคลอดฉุกเฉิน แต่ห้ามใช้คีมในการทำคลอด
ข้อ 25 รายที่มีการตกเลือดหลังคลอดให้รักษาอาการทันที
ส่วนที่ 3 การพยาบาลมารดาและทารก ระยะหลังคลอด
ข้อ 26 ผู้ประกอบวิชาชีพผดุงครรภ์และพยาบาลผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ให้การพยาบาลกับมารดาหลังคลอดอย่างใกล้ชิด
ข้อ 27 ผู้ประกอบวิชาชีพผดุงครรภ์และพยาบาลผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ต้องใช้ยาทาป้ายตาทารกแรกเกิดทันที
ข้อ 28 ประเมินสัญญาณชีพ ความผิดปกติ ให้มารดาสัมผัสกับทารกภายในชั่วโมงแรกหลังคลอด
ข้อ 29 ผู้ประกอบวิชาชีพผดุงครรภ์และพยาบาลผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ต้องบันทึกรายงานและการให้บริการตามความเป็นจริง
ข้อ 30 ผู้ประกอบวิชาชีพผดุงครรภ์และพยาบาลผดุงครรภ์ ชั้นสอง ให้กระทำการพยาบาลระยะตั้งคลอด ระยะคลอด และหลังคลอด ทำร่วมกับผู้ประกอบวิชาชีพ ชั้นหนึ่ง
ส่วนที่ 4 การวางแผนครอบครัวและการคัดกรองมารดาทารก
ข้อ 31 ผู้ประกอบวิชาชีพผดุงครรภ์และพยาบาลผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง สามารถให้คำปรึกษาได้
ข้อ 32 ผู้ประกอบวิชาชีพผดุงครรภ์และพยาบาลผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง สามารถคัดกรอง Pap smear ประเมินสุขภาพ ได้
ข้อ 33 ผู้ประกอบวิชาชีพผดุงครรภ์และพยาบาลผดุงครรภ์ ชั้นสอง ให้บริการด้านการวางแผนครอบครัวแบบยาหรืออุปกรณ์ได้
ส่วนที่ 5 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่มารดา ทารก และเด็ก
ข้อ 34 ผู้ประกอบวิชาชีพผดุงครรภ์และพยาบาลผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง จะให้ภูมิคุ้มกันโรคต้องทำตามกระทรวงสาธารณสุขกำหนด
ข้อ 35 ผู้ประกอบวิชาชีพผดุงครรภ์และพยาบาลผดุงครรภ์ ชั้นสอง ให้คำแนะนำเกี่ยวกับภูมิคุ้มกันโรค