Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อจำกัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาล…
ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อจำกัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2564
หมวดที่ 1 บททั่วไป
(ข้อ 4)
การรักษาโรคเบื้องต้น
= กระบวนการประเมินภาวะสุขภาพทั้งการซักประวัติ ตรวจร่างกาย วินิจฉัยแยกโรค รักษาโรคและการบาดเจ็บ การป้องกันโรค รวมถึงการปฐมพยาบาล
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
= การได้รับบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วยกะทันหัน ซึ่งเป็นภยันตรายต่อการดำรงชีวิตหรือการทำงานของอวัยวะสำคัญ จำเป็นต้องได้รับการประเมิน การจัดการและการบำบัดรักษาอย่างทันท่วงที
การเจ็บป่วยวิกฤต
= การเจ็บป่วยที่มีความรุนแรงถึงขั้นที่อาจทำให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตหรือพิการได้
การปฐมพยาบาล
= การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้บาดเจ็บหรืผู้ป่วย โดยดูแลเพื่อบรรเทาอาการ หรือป้องกันมิได้ภาวะนั้นเลวลง หรือ เพื่อส่งเสริมการฟื้นหาย การได้รับการช่วยเหลือจากผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
การให้ภูมิคุ้มกัน
= กระบวนการที่ทำให้ร่างกายสร้าง หรือเกิดภูมิคุ้มกัน หรือมีภูมิต้านทานต่อโรคที่ต้องการโดยการให้วัคซีน
หมวดที่ 2 การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ส่วนที่ 2 การทำหัตถการ (ข้อ 9)
ข้อ 9
กระทำการพยาบาลโดยการทำหัตถการตามขอบเขตที่กำหนด
9.1 การทำแผล การตกแต่งบาดแผล การเย็บแผลขนาดลึกไม่เกินชั้นเนื้อเยื่อไขมันใต้ผิวหนัง (subcutaneous tissue) และไม่อยู่ในตำแหน่งซึ่งเป็นอันตรายต่ออวัยวะสำคัญของร่างกาย
9.3 การถอดเล็บ การจี้หูดหรือจี้ตาปลา โดยใช้ยาระงับความรู้สึกทางผิวหนัง หรือฉีดยาชาเฉพาะที่
9.4 การให้ออกซิเจน
9.2 การผ่าตัดเอาสิ่งแปลกปลอม การผ่าฝี การผ่าตัดตาปลา การเลาะก้อนใต้ผิวหนัง ในบริเวณที่อยู่ในตำแหน่งซึ่งไม่เป็นอันตรายต่ออวัยวะที่สำคัญของร่างกาย โดยใช้ยาระงับความรู้สึก ทางผิวหนังหรือ ฉีดยาขาเฉพาะที่ ในการเอาสิงนปลกปลอมออกจากอวัยวะ
9.5 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ในผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤต ภาวะสูญเสียสมดุลของสารน้ำในร่างกายผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อภาวะช็อค การปฐมพยาบาล หรือตามแผนการรักษาของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
9.6 การให้ยา ทางปาก ทางผิวหนัง ทางหลอดเลือดดำ หรือช่องทางอื่น ๆ ตามแผนการรักษาของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือตามที่สภาการพยาบาลประกาศกำหนด
9.7 การให้เลือด (Blood Transfusion) ตามแผนการรักษาของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
9.8 การเปิดทางเดินหายใจให้โล่งด้วยการดูดเสมหะ การเคาะปอด
9.9 การช่วยฟื้นคืนชีพ (Cardio pulmonary resuscitation) เพื่อแก้ไขปัญหาวิกฤติของผู้ป่วย
9.10 การเขีดตา ล้างตา (Eye irrigation) หยอดตา ป้ายตา ปิดตา หรือ การล้างจมูก
9.11 การสอดใส่สายยางลงไปในกระเพาะจาหาร (Nasogastric tube) เพื่อให้อาหาร ให้ยา หรือล้างกระเพาะอาหารในรายทีกินสารพิษ หรือตามแผนการรักษาของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ส่วนที่ 1 การพยาบาล (ข้อ 5-8)
ข้อ 5
กระทำการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาล
5.3 การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการส่งเสริมสุขภาพการป้องกัน การควบคุม และการแก้ปัญหาความเจ็บป่วยหรือวิกฤต
5.4 การปฏิบัติการพยาบาลตามแผนการพยาบาล หรือแผนการรักษาของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม การใช้เครื่องมือพิเศษ การติดตามผลรวมทั้งการประสานทีมสุขภาพ
5.2 การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษาและการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย การวางแผนการดูแลต่อเนื่อง และการเสริมสร้างพลังอำนาจในการดูแลตนเองของประชาชน
5.5 การให้พยาบาลที่บ้านและการส่งเสริม ความสามารถของบุคคล ครอบครัว และชุมชน
5.1 การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล การตรวจประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและการบาดเจ็บ การควบคุมการแพร่กระจายโรค การปฐมพยาบาล การบำบัดโรคเบื้องต้น และการฟื้นฟูสุขภาพ
ข้อ 6
จะให้ยาผู้รับบริการได้เฉพาะที่ผู้ประกอบ วิชาชีพเวชกรรม ซึ่งเป็นผู้บำบัดโรคได้ระบุไว้ในแผนการรักษา หรือเมื่อเป็นการรักษาโรคเบื้องตันหรือการปฐมพยาบาล
6.1 ห้ามให้ยา หรือสารละลายในช่องรอบเยื่อบุไขสันหลัง หรือช่องไขสันหลัง หรือ สายสวนทางหลอดเลือดดำส่วนกลาง (Peripherally Inserted Central Catheter) และช่องทางอื่น
6.2 ห้ามให้ยา หรือสารละลาย หรือสารที่เกี่ยวข้องกับรังสี วินิจฉัย และยาอื่น
ข้อ 7
ให้กระทำทารพยาบาลที่ไม่ยุ่งยากขับช้อนตามแผนการพยาบาล ในกรณีที่เป็นปัญหา ยุ่งยาก ซับซ้อน หรือเป็นการเจ็บป่วยฉุกเฉิน หรือวิกฤต จะทำการประกอบวิชาชีพการพยาบาลได้ จะต้องกระทำร่วมกับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง หรือผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและ การผดุงครรภ์
ข้อ 8
จะให้ยาผู้รับบริการได้เฉพาะการให้ยาทางปากและยาภายนอก ตามที่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ซึ่งเป็นผู้บำบัดโรคได้ระบุไว้ในแผนการรักษาหรือเมื่อเป็นการปฐมพยาบาล และห้ามให้ยา
หมวดที่ 4 การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
ส่วนที่ 3 การพยาบาลมารดาและทารก ระยะหลังคลอด (Postpartum)
ข้อ 26
ให้การพยาบาลกับมารดาหลังคลอดอย่างใกล้ใด เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน โดยเฉพาะภาวะตกเลือดหลัง คลอด และหรืออาการอื่นที่อาจจะเกิดขึ้น
ข้อ 27
จะต้องใช้ยาทำลายและป้องกันการติดเชื้อสำหรับหยอดตา หรือปายตาทารกแรกเกิดทันที
ข้อ 28
การพยาบาลทารกแรกเกิด โดยการประเมินสัญญาณชีพ ความผิดปกติ หรือความพิการ ที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน และให้มารดาได้สัมผัสโอบกอดาทารกและเริ่มให้ดูตนมจากมารตาภายในชั่งโมงแรกหลังคลอด
ข้อ 29
จะต้องบันทึกรายงานเกี่ยวกับประวัติของหญิงตั้งครรภ์ การพยาบาลระยะตั้งครรภ์ การคลอด การพยาบาลหลังคลอด และการให้การบริการตามความเปีนจริง ตามแบบของสภาการพยาบาล และต้องเก็บบันทึกรายงานไว้เป็นหลักฐาน เป็นระยะวลา 5 ปี
ข้อ 30
ให้กระทำการพยาบาลระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และการพยาบาลหลังคลอด ในรายตั้งครรภ์และการคลอดปกติ ในสถานพยาบาลและการเยี่ยมบ้านที่ไม่ยุ่งยากขับซ้อนตามแผนกทรพยาบาลมารตาและทารกแรกเกิด
ส่วนที่ 4 การวางแผนครอบครัวและการคัดกรองมารดาทารก
ข้อ 32
สามารถทำการคัดกรองมารดาทารก
การทำ Pap smear
การประเมินภาวะสุขภาพ
ความผิดปกติและความพิการของทารก
ข้อ 33
การให้บริการวางแผนครอบครัวแบบใช้ยาหรือใช้อุปกรณ์
ยาเม็ดคุมกำเนิด (Oral contraceptive pills)
ถุงยางอนามัย
วงแหวนคุมกำเนิด
แผ่นแปะคุมกำเนิด / ยาคุมกำเนิดชนิดแผ่นแปะผัวหนัง
ข้อ 31
สามารถกระทำการพยาบาล แลการวางแผนครอบครัว
การให้คำปรึกษากับคู่สมรสในการวางแผนครอบครัว แบบวิธีธรรมชาติ / การคุมกำเนิดด้วยวิธีธรรมชาติไม่ต้องใช้ยาหรืออุปกรณ์
การให้บริการวางแผนครอบครัวแบบใช้ยาหรือใช้อุปกรณ์
ยาเม็ดคุมกำเนิด (Oral contraceptive pills)
ยาฉีดคุมกำเนิด (DMPA)
ถุงยางอนามัย
วงแหวนคุมกำเนิด
แผ่นแปะคุมกำเนิด / ยาคุมกำเนิดชนิดแผ่นแปะผิวหนัง
การฝังและถอดยาคุมกำเนิด (Nor Plant)
อื่นๆ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข
ส่วนที่ 2 การพยาบาลระยะคลอด
ข้อ 19
จะกระทำการผดุงครรภ์ได้แต่เฉพาะรายที่ตั้งครรภ์ปกติ และคลอดอย่างปกติตลอดจนการคูแลมารดาและทารกแรกเกิด
ข้อ 20
ให้การผดุงครรภ์หญิงมีครรภ์ ระยะก่อนคลอด ดังนี้
20.2 การตรวจประมินททรกในครรภ์
การตรวจการเต้นของหัวใจเทรกในครรภ์
ประมาณน้ำหนักกทารกในครรภ์
สวนนำและท่าทารกในครรภ์
20.3 การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
การหดรัดตัวของมดลูก การตรวงทางช่องคลอด (PV) เพื่อประเมินการเปิด และดวามบางของปากมดลูก ท่าของทารก การเคลื่อนของส่วนนำการแตกของถุงน้ำคร่ำ
20.1 การประเมินหญิงมีครรภ์
การประเมินประวัติการตั้งครรภ์ และประวัติการเจ็บป่วยอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์และการคลอด
การตรวจทางหน้าท้องเพื่อประเมินความพร้อมในการคลอด
ข้อ 21
การพยาบาล ระยะคลอด (Intrapartum)
21.1 การพยาบาลหญิงมีครรภ์ ที่ได้รับการชักนำการnลอด (Induction of labour)
21.2 การทำคลอด ในรายปกติ เรียกมาคลอดเพื่อปากมดลูกปิดสมบูรณ์แล้ว ส่วนนำอยู่ในอุ้งเชิงกรานพร้ยมคลอด ตัดผีเย็บตามข้อบ่งชี้ การทารกคลอด การดูแลทารกแรกเกิดทันที
21.3 ทำคลอดรก และเยื่อหุ้มทารกโดยใช้ Modified Crede Maneuver การตรวจรกและเยื่อหุ้มรก ในรายที่รกค้างถ้าปล่อยทิ้งไว้จะเป็นอันตรายต่อมารดาให้ทำคลอกรกด้วยวิธีพยุงดึงรังสายระต่อ (Controlled cord traction)
21.4 กรเย็บซอมแชบผีเย็บ ในรายที่มีการกชาดที่ไม่กินระดับ 1 (second degree tear)
21.5 การประเมินการเสียเลือด
21.6 การประเมินสัญญาณชีพ หลังคลอดทันทีและก่อนการย้ายออกจากห้องคลอด
ข้อ 22
การช่วยเหลือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมทำคลอด ในรายที่มีทารคลอดผิดปกติ เช่น การคลอดติดไหล่หน้า หรือการใช้เครื่องมือช่วยคลอดด้วยเครื่องสุญญากาศ ด้วยคีม หรือการช่วยทำผ่าตัดคลอด การช่วยทำหัตถการทางสูติกรรมที่มีความปลอกภัยห่อหญิงมีครรภ์
ข้อ 23
ห้ามผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ กระทำการที่เกี่ยวกับการตลอด ดังนี้
23.1 การเจาะน้ำคร่ำ เพื่อตรวจภาวะ การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ (amniocentesis)
23.2 การทำคลอดที่มีความผิดปกติ เช่น คลอดท่ากัน คลอดแฝด สายสะดือย้อย คลอกท่าขวาง หรือภาวะที่มีส่วนนำใหญ่กว่าช่องเชิงกราน เป็นต้น
23.3 การล้วงรก (Manual removal of placenta)
23.4 การกลับท่าของทารกในครรภ์ ทั้งภายในและภายนอกครรภ์ (internal and external version)
23.5 การใช้มือกดท้องในขณะช่วยทำคลอด
23.6 การเย็บซ่อมฝีเย็บที่มีการฉีกขาดระดับ 3
23.7 การทำแท้ง
ข้อ 24
จะกระทำการช่วยคลอดฉุกเฉินในรายที่มีการคลอดผิดปกติที่ไม่สามารถตรวจพบก่อนการทำคลอด และไม่สามารถหาผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมทำการคลอดให้ภายในเวลาอันสมควร และเห็นประจักษ์ว่าถ้าละเลยไว้จะเป็นอันตรายต่อมารดาหรือทารกก็ให้ทำคลอดในรายเช่นนั้นได้ แต่ห้ามให้ใช้คีมสูง ในการทำคลอด
ข้อ 25
ในรายที่มีการตกเลือดหลังคลอดถ้าปล่อยทิ้งไว้จะเป็นอันตรายต่อมารดาให้รักษาอาการตกเลือดเบื้องต้นตามความจำเป็นและส่งต่อทันที
ส่วนที่ 5 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่มารดา ทารก และเด็ก
ข้อ 35
ให้คำแนะนำเรื่องการเข้ารับภูมิคุ้มกันโรคและติดตามให้มารับภูมิคุ้มกันโรค
ข้อ 34
จะให้ภูมิคุ้มกันโรค ต้องปฏิบัติตามแนวทางการให้ภูมิคุ้มกันโรคที่กระทรวงสาธารณสุขประกาศกำหนด
ส่วนที่ 1 การพยาบาลก่อนการตั้งครรภ์ ระยะตั้งครรภ์
ข้อ 16
ให้การผดุงครรภ์แก่หญิงและครอบครัว เมื่อต้องการมีบุตร ก่อนการตั้งครรภ์ ระยะตั้งครรภ์ ด้วยกระบวนการ ดังนี้
16.1 การตรวจประเมินกาวะสุขภาพของหญิงและคู่สมรสเพื่องางแผนการมีบุตร
16.2 การตรวจประเมินภาวการณ์ตั้งครรภ์ด้วยเวชภัณฑ์ทดสอบการตั้งครรภ์
16.3 การรับฝากครรภ์
การประเมินภาวะสุขภาพด้านร่างกายและจิตใจของหญิงมีครรภ์
การประเมินการเจ็บป่วยในอดีตและปัจจุบัน
การประเมิน ประวัติทางสูติกรรม
การตรวจร่างกายทั่วไปและการประเมินภาวะโภชนาการของหญิงมีครรภ์
การตรวจครรภ์และทารกในครรภ์
ให้ยาเสริมธาตุเหล็กและโฟเลตแก่หญิงมีครรภ์
การให้วัคซีนป้องกันบาดทะยัก และวัคชีนอื่นตามเกณฑ์ที่กระทรงสาธารณสุขประกาศกำหนด
ข้อ 17
แนะนำและส่งต่อหญิงมีครรภ์ให้ได้รับการตรวจและการรักษากับผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ตามเกณฑ์การฝากครรภ์ที่กระทรวงสาธารณสุขประกาศกำหนด
ข้อ 18
ส่งต่อหญิงมีครรภ์กลุ่มเสี่ยง ตามประทาศกระทรวงสาธารณสุข หรือการตรวจพบภาวะครรภ์เป็นพิษ (Pre-eclampsia) หรือส่วนน าหรือทำของทารกในครรภ์ผิดปกติ หรือมีภาวะความเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์นละการดลอดอื่น ๆ ให้ได้รับการรักษาพยาบาลจากผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือส่งต่อไปสถานพยาบาลที่มีความพร้อม เพื่อความปลอดภัยของหญิงมีครรภ์และทารก
หมวดที่ 3 การรักษาโรคเบื้องต้น (ข้อ 10-15)
ข้อ 10
ให้กระทำการประกอบวิชาชีพการพยาบาลตามข้อกำหนดของสภาการพยาบาลในการรักษาโรค เบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรคดังนี้
ไข้ตัวร้อน
ไข้และมีผื่นหรือจุด
ไข้จับสั่น
ไอ
ปวดศีรษะ
ปวดเมื่อย
ปวดหลัง
ปวดเอว
ปวดท้อง
ฯลฯ
ข้อ 11
ผ่านการอบรมตามหลักสูตรที่สภาการพยาบาลประกาศกำหนด
11.1 สาขาที่ศึกษาเฉพาะทาง
สาขาเวชปฏิบัติทั่วไป (รักษาโรคเบื้องต้น)
สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติทางตา
สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติฉุกเฉิน
สาขาเวชปฏิบัติการบำบัดทดแทนไต (การล้างไตทางช่องท้อง)
สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติการบำบัดทดแทนไต (การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม)
ฯลฯ
11.2 ผู้ผ่านการอบรมหลักสูตร และได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตร ที่สภาการพยาบาลประกาศกำหนด ในสาขาต่อไปนี้
การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
การพยาบาลเด็ก
การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต
การพยาบาลผู้ป่วยโรคติดเชื้อและการควบคุมการติดเชื้อ
การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน
การผดุงครรภ์
การพยาบาลมารดาและทารก
การพยาบาลสาขาอื่นที่สภาการพยาบาลประกาศกำหนด
11.3 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ตามข้อ
11.1 และข้อ 11.2 นอกจากปฏิบัติตามข้อ 9 และข้อ 10 ได้แล้ว สามารถทำการพยาบาล การรักษาโรคเบื้องต้นและหัตถการ ในสาขาที่ผ่านการศึกษา ฝึกอบรมตามข้อบังตับหรือประกาศที่สภาการพยาบาลกำหนด
ข้อ 12
ต้องกระทำการรักษาโรคเบื้องต้น และการให้ภูมิคุ้มกันโรค
12.2 ให้ส่งผู้ป่วยไปรับการบำบัดรักษาจากผู้ประกอบวิชาชีพอื่น เมื่อปรากฎตรวจพบ หรือพิจารณาแล้วเห็นว่าอาการไม่บรรเทท อาการรุนแรงเพิ่มขึ้น มีโรดหรือภาวะแทรกช้อน เป็นโรคติดต่อที่ต้องแจ้งความตามกฎหมายว่าด้วย โรคติดต่อ หรือมีเหตุอันควรอื่น ฯ เกี่ยวกับการบ าบัดรักษา
12.1 ตรวจวินิจฉัยและบำบัดรักษาโรค ตามมาตรฐานของการประกอบวิชาชีพการพยาบาล ที่สภาการพยาบาลประกาศกำหนด
ข้อ 13
ถ้าจำเป็นต้องใช้ยาให้ใช้ยาได้ตามคู่มือการใช้ยาที่สภาการพยาบาลประกาศกำหนด
ข้อ 14
ในการให้ภูมิคุ้มกันโรค ต้องปฏิบัติตามแนวทางการให้ภูมิคุ้มกันโรคที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
ข้อ 15
ต้องมีบันทึกรายงานเกี่ยวกับประวัติของผู้ป่วย หรือผู้รับบริการ อาการ และการป่วย โรค การพยาบาล การให้การรักษา หรือการให้บริการ วันเวลาในการให้บริการ
ซื่อผู้ประกอบวิชาชีพ ตามความเป็นจริง ตามแบบของสภาการพยาบาล เก็บบันทึกและรายงาน ไว้เป็นหลักฐานเป็นเวลา 5 ปี