Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อบังคับการพยาบาลปี 64 - Coggle Diagram
ข้อบังคับการพยาบาลปี 64
หมวดที่ 1 บททั่วไป (ข้อ 4)
การรักษาโรคเบื้องต้น
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การเจ็บป่วยวิกฤต
หมวดที่ 2 การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ส่วนที่ 1 การพยาบาล (ข้อ5-8)
ข้อ 5 ทำการพยาบาาลตามกระบวนการพยาบาล
ข้อ 6 ทำการรักษาตามแผนการรักษา Doctor's order มียาห้ามใช้ เคมีบำบัด
ข้อ 7 การทำงานช่วมกันของทั้งพยาบาลชั้น1กับ2
ข้อ 8 พยาบาลชั้น1กับ 2 ในการให้ยาทางปากและภายนอก และห้ามให้ยาในชนิดข้อ 6
ส่วนที่ 2 การทำหัตถการ (ข้อ 9)
ข้อ 9 พยาบาลชั้น 1กับ2 ทำหัตถการตามขอบเขตที่กำหนด
หมวดที่ 3 การรักษาโรคเบื้องต้น
ข้อ 10 พยาบาลชั้น 1กับ 2 ให้กระทำการพยาบาลตามข้อกำหนดของสภาการพยาบาลในการรักษาโรค
ข้อ 11 พยาบาลชั้น1กับ2 สาขาที่ศึกษาเฉพาะทาง ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตร
ข้อ 12 พยาบาลชั้น 1กับ2 ทำการรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค
ข้อ 13 พยาบาลชั้น1กับ2 ให้ยาตามคู่มือการให้ยาตามสภากำหนด
ข้อ 14 พยาบาลชั้น 1กับ2 ในการให้ภูมิคุ้มกันโรค ตามแนวทสงปฏิบัติที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
ข้อ 15 ต้องมีบันทึกรายงาานเกี่ยวกับประวัติของผู้ป่วย ตามความเป็นจริง เก็บหลักฐานเป๋นเวลา 5 ปี
หมวดที่ 4 การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
ส่วนที่1 การพยาบาลก่อนการตั้งครรภ์ ระยะตั้งครรภ์
ข้อ 16 พยาบาลชั้น1กับ2 ให้การผดุงครรภ์แก่หญิงและครอบครัว เมื่อต้องการมีบุตร ก่อนการตั้งครรภ์ ด้วยกระบานการดังนี้
16.1 ตรวจประเมินภาวะสุขภาพทั้งคู่วางแผนการมีบุตร
16.3 การรับฝากครรภ์
16.2 เวชภัณฑ์ทดสอบการตั้งครรภ์
ข้อ 17 แนะนำและส่งต่อหญิงตั้งครรภ์ได้ตรวจและรับการรักษากับปู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ข้อ 18 ส่งต่อหญิงมีครรภ์กลุ่มเสี่ยง ครรภ์เป็นพิษ(pre-eclampsia) ให้ได้รับการรักษาการพยาบาลจากผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ส่วนที่ 2 การพยาบาลระยะคลอด
ข้อ 19 พยาบาลชั้น 1กับ2 จะกระทำการผดุงครรภ์ได้เฉพาะรายที่ครรภ์ปกติ และคลอดอย่างปกติ ตลอดจนการดูแลมารดาและทารกแรกเกิด
ข้อ 20 ให้การผดุงครรภ์ ระยะก่อนคลอด ดังนี้
20.1 การประเมินหญิงมีครรภ์
20.1.1 การประเมินประวัติการตั้งครรภ์
20.2 การตรวจทางหน้าท้องเพื่อประเมินความพร้อมในการคลอด
20.3 การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ข้อ 21 การพยาบาลระยะคลอด (Intrapartum)
21.1 การพยาบาลหญิงมีครรภ์ ที่ได้รับการชักนำการคลอด
21.2การทำคลอดในรายปกติ
21.3 ทำคลอดรก
21.4 การเย็บซ่อมแซมฝีเย็บ ไม่เกินระดับ 2
21.5 การประเมินการเสียเลือด
21.6 การประเมินสัณญาณชีพ หลังคลอดทันทีและก่อนย้ายออกจากห้องคลอด
ข้อ 22 การช่วยเหลอผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมทำคลอดในรายที่มีการคลอดผิดปกติ
ข้อ 23 ห้ามผู้ประกอบวิชาชีพชั้น1กับ2 เกี่ยวกับการคลอด
ข้อ 24 พยาบาลชั้น1กับ2 จะกระทำช่วยคลอดฉุกเฉินในรายที่มีการคลอดผิดปกติที่ไม่สามารถพบก่อนการทำคลอด
ข้อ 25 ในรายที่มีการตกเลือดหลังคลอดถ้าปล่อยทิ้งไว้จะเป็นอันตรายต่อมารดาให้รักษาการตกเลือดเบื้องต้นตามคามจำเป็นและส่งต่อทันที
ส่วนที่ 3 การพยาบาลมารดาและทารก ระยะหลังคลอด (Postpartum)
ข้อ 26 ให้การพยาบาลกับมารดาหลังคลอดอย่างใกล้ชิด เพื่อป้องภาวะแทรกซ้อน
ข้อ 27 จะต้องใช้ยาทำลายและป้องกันการติดเชื้อสำหรับหยอดตา หรือป้ายตาทารกแรกเกิดทันที
ข้อ 28 การพยาบาลททารกแรกเกิด แระเมินสัณญาณชีพ ความผิดปกติ ความพิการ ที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน และให้มารดาสัมผัสโอบกอดทารกและทารกดูดนมแม่ในชั่วโมงแรก
ข้อ 29 จะต้องบันทึกรายงานเกี่ยวกับประวัติของหญิงตั้งครรภ์ การพยาบาลระยะคลอด การคลอด การพยาบาหลังคลอด และการให้บริการความจริง เก็บหลักฐานเป็นระยะเวลา 5 ปี
ข้อ 30 พยาบาลชั้น2 ทำคลอดปกติ พยาบาลชั้น 1 ห้ามไม่ให้ทำในกรณีที่ยุ่งยาก ซับซ้อน
ส่วนที่ 4 การวางแผนครอบครัวและการคัดกรองมารดาทารก
ข้อ 31 สามารถกระทำการพยาบาล และการวางแผนครอบครัว การคุมกำเนิดในวิธีต่างๆ
ข้อ 32 สามารถคัดกรองมารดาทารก
ข้อ 33 การให้บริการวางแผนครอบครัวแบบใช้ยาหรืออุปกรณ์
ส่วนที่ 5 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่มารดา ทารก เด็ก
ข้อ 34 จะให้ภูมิคุ้มกันโรค ต้องปฎิบัติตามแนวทางการให้ภูมิค้มกันโรคที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
ข้อ 35 ให้คำแนะนำเรื่องการเข้ารับภูมิคุ้มกันโรคและติดตามให้มารับภูมิคุ้มกันโรค