Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อจำกัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาล…
ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อจำกัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2564
หมวดที่ ๑ บททั่วไป
การรักษาโรคเบื้องต้น
เป็นการวินิจฉัย แยกโรค การรักษาโรคและการบาดเจ็บ
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การได้รับบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยกะทันหัน
การเจ็บป่วยวิกฤต
การเจ็บป่วยที่รุนแรงถึงแก่ชีวิตหรือพิการ
การปฐมพยาบาล
การให้ความช่วยเหลือผู้บาดเจ็บหรือผู้เจ็บป่วย
การให้ภูมิคุ้มกัน
การทำให้ร่างกายเกิดภูมิคุ้มกัน โดยการใช้วัคซีนเท่านั้น
หมวดที่ ๒ การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ส่วนที่ ๑ การพยาบาล (ข้อ ๕-๘ )
ข้อที่ 5 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้นหนึ่ง/ผู้ประกอบวิชาชีพวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง กระทำการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาล
5.1 การกระทำต่อร่างกายและจิตใจ ตรวจประเมิน ส่งเสริม
รักษา ป้องกัน ฟื้นฟู
5.2 การสอน แนะนำ คำปรึกษา แก้ไขปัญหา วางแผนการดูแล
5.5 การพยาบาลที่บ้านและการส่งเสริมความสามารถ เพื่อใช้ชิวิตอย่างปกติและอยู่กับความเจ็บป่วย มีคุณภาพชีวิตที่ดี
5.3 การจัดสภาพแวดล้อม
5.4 การปฎิบัติตามแผนการพยาบาล เป็นไปตามมาตรฐานการพยาบาลที่สภากำหนด
ข้อที่ 6 ผู้ประกอบวิชชาชีพจะให้ยาเฉพาะที่แพทย์ได้ระบุไว้ในแผนการรักษา
6.1 ห้ามให้ยาหรือสารละลายในช่องรอบเยื่อบุุไขสันหลัง/ช่องไขสัน/สายสวนทางหลอดเลือดดำส่วนกลาง/ช่องทางอื่นตามที่สภาการพยาบาลกำหนด
6.2 ห้ามใช้ยา/สารละลาย/สารที่เกี่ยวข้องกับรังสี
วินิจฉัยและยาอื่นตามที่สภาการพยาบาลประกาศ
ห้ามให้ยาหรือสารละลายทางหลอดเลือดดำ
1.1 กลุ่มสารละลายทึบรังสี
1.2 กลุ่มยาระงับความรู้สึกที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
ไธโอเพ็นทัลโซเดียม
คีตามีนไฮโดรคลอไรด์
พรอโพฟอล
เอโทมีเดท
ยกเว้น ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้นหนึ่ง หรือผู้ประกอบวิชาการพยาบาลและผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งที่ผ่านการอบรมวิสัญญีพยาบาลและปฏิบัติงานในห้องผ่าตัดของสถานพยาบาล
1.3 เคมีบำบัดต้องเข้าอบรมก่อน
ข้อที่ 7 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้นสอง/ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นสอง ให้กระทำไม่ยุ่งยากซับซ้อน แต่ถ้าเป็นปัญหา ยุ่งยาก ซับซ้อน ต้องกระทำร่วมกับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้นหนึ่ง/ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้นสอง/ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นสอง จะให้ยาผู้รับบริการเฉพาะให้ยาทางปากและยาภายนอก และห้ามให้ยาในชนิดและตามที่สภาการพยาบาลประกาศข้อ 6.1และ6.2
ส่วนที่ ๒ การทำหัตถการ (ข้อ๙)
ข้อ 9 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้นหนึ่ง/ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ทำหัตถการได้ตามขอบเขตที่กำหนด
9.1 การทำแผล ตกแต่งแผล เป็นแผลลึกไม่เกินชั้นเนื้อเยื่อไขมันใต้ผิวหนัง ใช้ยาระงับเฉพาะที่
9.2 การผ่าตัดสิ่งแปลกปลอม ฝี ตาปลา เลาะก้อนใต้ผิวหนังโดยใช้ยาระงับความรู้สึกทางผิวหนังหรือฉีดยาเฉพาะที่
9.3 ถอดเล็บ การจี้หูดหรือตาปลา ใช้ยาระงับความรู้สึกทางผิวหนังหรือฉีดยาชาเฉพาะที่
9.4 การใช้ออกซิเจน
9.5การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำในผู้ป่่วยวิกฤต ภาวะเสียสมสมดุลน้ำเสี่ยงต่อการช็อค
9.6 การให้ยาทางปาก ผิวหนังทางหลอดเลือดดำ หรือทางอื่นๆตามแผนรักษาหรือที่สภากำหนด
9.7 การให้เลือด
9.8 การดูดเสมหะ เคาะปอด
9.9 การช่วยฟื้นคืนชีพ
9.10 การเช็ดตา ล้างตา หยอดตา ป้ายตา ปิดตา ล้างจมูก
9.11 การใส่สายNG ไม่ต้องรอหมอสั่งแต่ต้องมั่นใจว่าเราทำได้
9.12 การสวนหรือเปลี่ยนสายสวนในคนที่ไม่มีความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ
9.13 การสวนทวารหนัก
9.14 ดามใส่เฝือกชั่วคราว
9.15 ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
9.16 เจาะเลือดจากหลอดเลือดดำส่วนปลาย/ปลายนิ้วเพื่อส่งตรวจ
9.17 หัตถการอื่นๆที่สภากำหนด
หมวดที่ ๓ การรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกัน
(ข้อ ๑๐-๑๕)
ข้อที่ 15 ต้องมีรายงานบันทึกประวัติ อาการ การเจ็บป่วย โรค การรักษา วันเวลาในการบริการ เก็บบันทึกและรายงานเป็นเวลา5ปี
ข้อที่ 14 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้นหนึ่ง/ผู้ประกอบวิชาชีพวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ต้องปฏิบัติตามแนวทางให้ภูมิคุ้มกันโรคที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
ข้อที่ 13 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้นหนึ่ง/ผู้ประกอบวิชาชีพวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งจำเป็นต้องใช้ยาให้ยาตามคู่มือการใช้ยาให้ยาที่สภาการพยาบาลกำหนด
ข้อที่ 12 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้นหนึ่ง/ผู้ประกอบวิชาชีพวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งต้องรักษาโรคเบื้องต้นตามข้อกำหนดสภาการพยาบาล โดย
ตรวจวินิจฉัยและบำบัดโรค
ส่งผู้ป่วยไปบำบัดรักษาจากผู้ประกอบวิชาชีพอื่น
ข้อที่ 11 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้นหนึ่ง/ผู้ประกอบวิชาชีพวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งผ่านการอบรมตามหลักสูตรที่สภาการพยาบาลกำหนด
11.1 สาขาที่ศึกษาเฉพาะเจาะจง
11.2ผู้ผ่านการอบรมหลักสูตรและได้รับหนังสืออนุมัตืหรือวุฒิบัตรที่สภาการพยาบาลกำหนด
11.3 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้นหนึ่ง/ผู้ประกอบวิชาชีพวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งตามข้อ 11.1และ11.2 มาแล้ว สามารถทำหัตถการข้อ9และสามารถรักษาโรคเบื้องต้นข้อ10ได้
หมวดที่ ๔ การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
ส่วนที่ 1 การพยาบาลก่อนการตั้งครรภ์ ระยะตั้งครรภ์
ข้อที่ 16 ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ก่อนการตั้งครรภ์ ระยะตั้งครรภ์ ด้วยกระบวนการ ดังนี้
16.1 การตรวจประเมินสุขภาพของหญิงและคู่สมรส
16.2 การตรวจประเมินภาวะตั้งครรภ์ด้วยเวชภัณฑ์ทดสอบการตั้งครรภ์
16.3 การรับฝากครรภ์
ข้อที่ 17 แนะนำและส่งต่อหญิงมีครรภ์ให้ได้ตวจและรักษากับผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
ข้อที่ 18 ส่งต่อหญิงมีครรภ์เสี่ยงหรือตรวจพบครรภ์เป็นพิษหรือทารกในครรภ์ผิดปกติ ให้ได้รับการรักษาจากหมอหรือส่งต่อไปโรงพยาบาลที่มีความพร้อม
ส่วนที่่ 2 การพยาบาลระยะคลอด
ข้อที่ 19 ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งทำการผดุงครรภ์ได้เฉพาะรายที่ตั้งครรภ์และคลอดปกติ ตลอดจนดูมารดาและทารกแรกเกิด
ข้อที่ 20 ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง/ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ให้ผดุงครรภ์ระยะก่อนคลอดดังนี้
20.1 การประเมินหญิงมีครรภ์
20.2 การประเมินทารกในครรภ์
20.3 ประเมินความก้าหน้าของการคลอด
ข้อที่ 21 การพยาบาลระยะคลอด
ข้อที่ 22 ช่วยเหลือหมอทำคลอดในรายที่ผิดปกติ
ข้อที่ 23ห้ามผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง /ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งกระทำเกี่ยวกับการคลอด ดังนี้
23.1 การเจาะน้ำคร่ำ
23.2การทำคลอดที่มีความผิดปกติ
23.3การล้วงรก 23.4การกลับท่าของทารกในครรภ์ทั้งภายในและนอก 23.5การใช้มือกดท้องในขณะทำคลอด 23.6การเย็บซ่อมฝีมือที่มีการฉีกขาดระดับ3 23.7การทำแท้ง
ข้อที่ 24 การช่วยคลอดฉุกเฉินแต่ไม่มีหมอสามารถทำได้แต่ต้องคำนึงว่าไม่เป็นอันตรายต่อแม่และทารก ห้ามใช้คีม เครื่องดูด ผ่าตัดในการคลอด ยารัดมดลูก
ข้อที่ 25 ถ้าตกเลือดให้ดูแลเบื้องต้นและส่งต่อทันที
ส่วนที่ 3 การพยาบาลมารดาและทารกหลังคลอด
ข้อที่ 26 ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง / ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ให้ดูแลแม่หลังคลอดอย่างใกล้ชิด
ข้อที่ 27ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง / ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งต้องใช้ยาหยอดตาหรือป้ายตาทารกทันทีเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ข้อที่ 28 การพยาบาลทารก วัดสัญญาณชีพ ตวามพิการที่มองเห็นได้ชัดเจน และมารดาได้กอดลูกและดูดนมจากมารดาภายในชั่วโมงแรกหลังคลอด
ข้อที่ 29 ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งต้องบันทึกประวัติตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด เก็บเป็นเวลา 5ปี
ข้อที่ 30 ข้อที่ 29 ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นสอง / ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นสองทำได้ตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอดแต่ทำร่วมกับชั้นหนึ่ง
ส่วนที่ 4 การวางแผนครอบครัวและการคัดกรองมารดา
ข้อที่่ 31 ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง / ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง
สามารถกระทำการพยาบาลและวางแผนครอบครัว ดังนี้
31.1 การให้คำปรึกษาคู่สมรสวางแผนครอบครัว แบบวิธีไม่ใช้ยาหรืออุปกรณ์
31.2การวางแผนครอบครัวแบบใช้ยาหรืออุปกรณ์
ข้อที่่ 32 ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง / ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งสามารถคัดกรองมารดาทารก
32.1 การทำ Pap smear
32.2การประเมินภาวะสุขภาพ ความผิดปกติและความพิการทาก
ข้อที่่ 33 ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นสอง / ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นสอง การให้บริการวางแผนครอบครัวแบบใช้ยาหรือุปกรณ์
33.1ยาคุมกำเนิด
33.2ถุงยาอนามัย
33.3วงแหวนคุมกำเนิด
33.4แผ่นแปะคุมกำเนิด/ยาคุมกำเนิดชนิดแผ่นแปะผิวหนัง
ส่วนที่ ๕ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่มารดา ทารก และเด็ก
ข้อที่่ 34 ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง / ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง
จะให้ภูมิคุ้มกันโรค ต้องปฏิบัติตามแนวทางที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
ข้อที่่ 35 ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้นสอง / ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นสอง
ให้คำแนะนำเรื่องการเข้ารับภูมิคุ้มกันโรคและติดตามให้มารับภูมิคุ้มกันโรค