Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณคดีคดี และ การแบ่งยุคสมัยของวรรณคดี - Coggle…
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณคดีคดี และ การแบ่งยุคสมัยของวรรณคดี
ความหมายของวรรณคดี และวรรณกรรม
วรรณคดีคือ วรรณกรรมที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดีมีคุณภาพทางวรรณศิลป์
วรรณกรรมคือ งานเขียนทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นร้อยแก้วหรือร้อยกรองที่สามารถสื่อสารหรือส่งสารยังผู้อ่านเข้าใจได้ง่าย
ปัญหาของวรรณคดีและสภาพแวดล้อม
อุปกรใช้สำหรับบันทึกวรรณคดีมีน้อยและไม่ถาวร
คนได้รับการศึกษาน้อย
เนื่องจากเกิดสงครามบ่อยครั้ง
กำเนิดวรรณคดี
ความรูสึกและของประชาชนที่นับถือด้วยกัน
ต่อชาติ หัวใจนักรบ พระร่วง
ต่อพระมหากษัตริย์ โคลงเฉลิมพระเกียรติ
ต่อศาสนา ไตรภูมิพระร่วง มหาชาติคำหลวง
อารมณ์ของกวี
การถ่ายทอดทางวัฒนธรรม เช่นการก็อบปี้โครงเรื่องมาจากต่างแดน
Ex สามก๊ก รามเกียรติ์ อิเหนา เป็นต้น
ลักษณะของวรรณคดี
จุดมุ่งหมายในการแต่ง
เพื่อสั่งสอนประชาชน ไตรภูมิพระร่วง มหาขาติคำหลวง
เพื่อความรักและระบายอารมณ์ นิราศเพลงยาว
เพื่อเป็นงานอดิเรก เงาะป่า
เพื่อให้ความบันเทิงสนุกสนาน พระอภัยมณี
เนื้อหาของวรรณคดี
วรรณคดีตำรา ตำราพิชัยสงคราม ตำราฉันทลักษณ์
วรรณคดีเฉลิมพระเกียรติ ลิลิตยวนพ่าย ลิลิตตะเลงพ่าย
วรรณคดีนิราศ นิราศต่างๆ โครงกำสรวล
วรรณคดีศาสนา ไตรภูมิพระร่วง สุภาษิตพระร่วง
วรรณคดีการละคร อิเหนา รามเกียรติ์
วรรณคดีล้อเลียนสังคม ระเด่นลันได พระมะเหลเถไถ
ผู้แต่ง มักจะเป็นบุคคลชั้นสูง อย่างพระมหากษัตริย์ พระบรมวงศ์นุสานุวงศ์ ผู้อยู่รั้วในวังหรือผู้ใกล้ชิดพระมหากษัตริย์
ตัวละครในเรื่อง มักจะเป็นพระมหากษัตริย์หรือบุคคลชั้นสูง
พระเอกมักจะมีความเจ้าชู้ นางเอกมักจะมีบุญญาธิการ มีวาสนาสูง
ท่วงทำนองในการเรียน
การขึ้นต้นเรื่อง มักจะเป็นการไหว้ครู ไหว้พ่อแม่ ไหว้ครูอาจารย์ สดุดีพระเกียรติคุณของพระมหากษัตริย์
การดำเนินเรื่อง มักจะมีการชมแบบธรรมชาติ อย่างพรรณาการเดินทาง
การลงท้ายเรื่องหรือจบเรื่อง มักจะบอกชื่อผู้แต่ง วันเดือนปีแต่ง จุดมุ่งหมายในการแต่ง หรือสอนนิสัยคน
ค่านิยมและอุดมคติ
ค่านิยม สภาพความเป็นอยู่และนิสัยของคนไทยที่ปรากฏในวรรณคดี
อุดมคติ สิ่งที่ยกย่องเทิดทูนหรือเคารพบูชา ซึ่งปรากฏในวรรณคดี
ประโยชน์ของวรรณคดี
ให้คุค่าทางอารมณ์
สะท้อนสังคม สภาพชีวิตและวัฒนธรรม
ช่วยเสริมสร้างปัญญา
ขัดเกลาจิตใจ และยกระดับจิตใจ
ประเภทของกวีและวรรณคดี
วรรณคดีบริสุทธิ์ เกิดจากความนึกคิดทางอารมณ์และแรงสะเทือนใจของผู้แต่ง Ex อิเหนา และ พระอภัยมณี
วรรณคดีประยุกต์ มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้อ่านได้รับประโยชน์ ได้รับความรู้ สุภาษิตสอนหญิง ไตรภูมิพระร่วง นิราศลอนดอน
ประเภทของวรรณคดี แบ่งได้เป็น 2 อย่าง
แบ่งตามหลักฐาน มี 2 อย่าง
วรรณคดีไม่มีการบันทึกลายลักษณ์อักษร กล่าวหรือจดจำกันมาด้วยปาก เรียกว่า วรรณคดีมุขปาฐะ Ex ปริศนาคำทาย บทเพลงพื้นเมือง บทเห่กลอม
วรรณคดีที่เป็นลายลักษณ์อักษร มีบันทึกไว้ในหนังสือ อย่างศิลาจารึก หรือใบลาน สมุดข่อย
แบ่งตามลักษณะคำประพันธ์
วรรณคดีร้อยแก้ว
วรรณคดีร้อยกรอง
ประเภทของกวี
จินตกวี กวีที่แต่งมาจากตามที่คิดผูกเรื่องขึ้นเอง อย่างพระอภัยมณี
ปฏิภาณกวี กวีที่แต่งเรื่องฉับไว อย่างพระอภัยมณี
สุตกวี มาจากกวีที่ได้ยินได้ฟังมา อย่าง รามเกียรติ์และลิลิตตะเลงพ่าย
อรรถกวี กวีที่แต่วเรื่องซึ่งได้จากเหตุการและความเป็นจริง
อย่างนิราศลอนดอนหของหม่อมราโชทัย
รสของวรรณคดี
นารีปราโมทย์
พิโรธวาทัง
เสาวรจนี
สังลาปังคพิสัย
การแบ่งยุคสมัยของวรรณคดี จะยึดตามราชธานีเป็นหลัก
วรรณคดีสมัยสุโขทัย
วรรณคดีสมัยอยุธยา
วรรณคดีสมัยตอนกลาง
วรรณคดีสมัยตอนปลาย
วรรณคดีสมัยตอนต้น
วรรณคดีสมัยธนบุรี
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์
กรุงรัตนโกสินทร์ปัจจุบัน ร.4-ปัจจุบัน
กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ร.1-ร.3