Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคไม่ติดเชื้อทางระบบประสาท (ต่อ) - Coggle Diagram
โรคไม่ติดเชื้อทางระบบประสาท
(ต่อ)
Multiple sclerosis
พยาธิสรีรวิทยา
โรคนี้จะกระจัดกระจายอยู่ใน CNS มีการทำลายของ Myelin nerve axon sheaths และบางครั้ง axon ก็ถูกทำลายด้วย ทำให้การส่งกระแสประสาทขาดช่วงเป็นระยะๆ
สาเหตุ
ภูมิคุ้มกัน
กรรมพันธุ์
สภาพแวดล้อมยังไม่ทราบปัจจัยที่แน่นอน
การอักเสบติดเชื้อจากไวรัสอย่างช้าๆ
อาการและอาการแสดง
แขนขาอ่อนแรง เป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด กล้ามเนื้อหดเกร็ง (spasticity) ของขา
พูดตะกุกตะกัก (dysarthria) ลูกตากระตุก (nystagmus) อาการสั่นเมื่อตั้งใจ (intention termor)
การรับความรู้สึกผิดปกติรวมถึงอาการชาและอาการเสียวแปลบของแขนขา ลำตัวหรือใบหน้า
กล้ามเนื้อใบหน้าส่วนครึ่งล่างอ่อนแรง
การเห็นผิดปกติ เห็นภาพซ้อน ภาพมัว หรือสายตาเสื่อมลง
ระบบการขับถ่ายเสียหน้าที่
ความผิดปกติทางด้านอารมณ์และจิตใจ
การวินิจฉัยโรค
จากอาการเฉพาะที่ทางคลินิคที่ปรากฎให้ชัดเจน
การเจาะหลังพบ ระดับ grammar globulin
CT scan
การตรวจคลื่นสมอง อาจพบความผิดปกติได้
การรักษา
การให้ ACTH
การรักษาทางยา ส่วนใหญ่แพทย์จะให้ยาลดอาการกล้ามเนื้อกระตุก
ให้ยาลดสภาพของอารมณ์ที่ไม่มั่นคง เช่น Diazepam
การทำกายภาพบำบัด
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (Increased intracranial pressure)
ปัจจัยส่งเสริมให้เกิด IICP
Cerebral autoregulation สูญเสียไป
-ภาวะคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูง (>45); vasodilatation
-เนื้อเยื่อสมองมีเลือดไปเลี้ยงลดลง; ท่านอนไม่เหมาะสม
-ภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ (<60)
-ภาวะการบาดเจ็บต่อเนื้อเยื่อสมอง
Compensation mechanism of IICP
Volume
เพิ่มการขับน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง
เพิ่มการดูดกลับและลดการสร้างน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง
มีการหดของหลอดเลือดสมอง และเพิ่มการไหลกลับของเลือดดำ
CBF
autoregulation of cerebral blood flow
ขนาดของหลอดเลือดจะขยายหรือหดตัว
แรงดันกำซาบเนื้อเยื่อสมอง
CPP = MAP – ICP
Clinical Manifestations IICP
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
Cushing's triad
ความสามารถในการเคลื่อนไหวลดลง
อาการอื่นๆ เช่น ปวดศีรษะมาก อาเจียนพุ่ง
increased intracranial pressure : IICP
ปวดศีรษะ
อาเจียนพุ่ง
ตัวมัว เห็นภาพซ้อน
ระดับความรู้สึกตัวลดลง Glasgow coma score
มีไข้สูง
Cushing’s triad
Assessment
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
LOC
GCS)
Vital signs Cushing's triad
pupil reaction, size, conjugate
การพยาบาลที่สำคัญ
จัดท่าศีรษะสูง 30 องศา
หลีกเลี่ยงสิ่งที่จะทำให้เพิ่มความดันในช่องอกแรงดัน
ให้ออกซิเจน
ดูแล Temp.
IV fluid ประเมิน intake & output
ดูแลให้ได้รับยา
การผ่าตัด
Burr hole เป็นการผ่าตัดโดย เจาะกะโหลกศีรษะด้วยสว่านชนิดพิเศษ
Ventriculostomy คือการผ่าตัดใส่ท่อซิลิโคนหรือพลาสติกใสขนาดเล็กผ่านเนื้อสมองเข้าสู่ ventricle
การบาดเจ็บไขสันหลัง (Spinal cord injuries)
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
การบาดเจ็บ (Trauma)
อุบัติเหตุรถยนต์ จักรยานยนต์
ตกจากที่สูง
โดนยิง
การเล่นกีฬา
ความผิดปกติที่ไม่ได้เกิดจากการบาดเจ็บ (Non-traumatic disorders)
การเสื่อมของกระดูกสันหลัง
โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis)
การอับเสบของเยื้อหุ้มไขสันหลัง
เนื้องอก
โรคของหลอดเลือด
กลไกการบาดเจ็บไขสันหลัง
การบาดเจ็บแบบงอ (Flexion injury)
ส่วนใหญ่เกิดจากอุบัติรถยนต์
มีการฉีกขาดของเอ็นด้านหลัง
การบาดเจ็บท่าแหงนคอมากกว่าปกติ (Hyperextension injury)
เกิดจากการหกล้มคางกระแทกวัตถุ
มีการฉีกขาดของเอ็นด้านหน้า
การบาดเจ็บท่างอ และหมุน
การหมุนหรือบิดของศีรษะและคออย่างรุนแรง
มีการฉีกขาด posterior longitudinal ligament
การบาดเจ็บแบบยุบจากแรงอัด (Compression injury)
เกิดจาการการหกล้มหรือกระโดด
ถ้าเกิดการกระแทกโดยใช้เท้านำ จะเกิดการบาดเจ็บที่กระดูกสันหลังส่วนเอว
มีกระดูกสันหลังยุบตัวซ้นเข้าหากัน
การบาดเจ็บแบบ Penetrating injury
เกิดจากถูกแทง ถูกยิง
การบาดเจ็บทั้งทางตรงและทางอ้อม
ประเภท
บาดเจ็บไขสันหลังชนิดสมบูรณ์
บาดเจ็บไขสันหลังชนิดไม่สมบูรณ์
การดูแลผู้ป่วย
ระยะก่อนถึงโรงพยาบาล (Prehospital phase)
การดูแลระบบทางเดินหายใจให้โล่งขณะเดียวกันต้องระวังไม่ให้กระดูกคอเคลื่อนโดยการใส่ Philadelphia collar
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สบายและเจ็บปวดน้อยที่สุด
การดูแลห้ามเลือดในที่เกิดเหตุ
การเคลื่อนย้าย (transportation) ต้องใช้คนช่วยอย่างน้อย 3 คน
การประเมิน
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย ใช้หลัก ABCDE
American Spinal Injury Association (ASIA)
การตรวจทางรังสีวิทยา
ระยะเฉียบพลัน
Breathing
Circulation
การให้ยา
High-dose Methyprednisolone
การให้ยาในกลุ่ม H2 antagonist
ยาบรรเทาอาการปวด
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
การดูแลระบบทางเดินปัสสาวะ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับความอบอุ่นเพียงพอ
จัดหาเตียงที่เหมาะสม
Spinal shock หมายถึง ภาวะที่ไขสันหลังหยุดทำงานชั่วคราวภายหลังได้รับบาดเจ็บ
Neurogenic shock ภาวะช็อคที่เกิดจากความผิดปกติของระบบประสาท
หลักการรักษา
การทำให้ส่่วนที่หักหรือบาดเจ็บหยุดนิ่ง
การดึงกระดูกให้เข้าที่
การผ่าตัด (Stabilization)
หลักการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง
ปัญหา : 1. ระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาล
การให้ออกซิเจนจะช่วยบรรเทาการได้รับบาดเจ็บของไขสันหลังได้
ในรายที่ใส่เครื่องช่วยหายใจ
Breathing exercise
ปัญหา : 2 ระบบไหลเวียน
การพยาบาล
ประเมินการทำงานของหัวใจและหลอดเลือด
ดูแลภาวะหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนภายหลังจากพ้นระยะ spinal shock
ปัญหา : 3 ระบบทางเดินอาหาร
การพยาบาล
ภาวะท้องอืด (paralytic ileus)
ประเมินเสียง bowel sound
ล้วงอุจจาระออกทุกวันเป็นเวลา 3 วัน
เมื่อผู้ป่วยมีภาวะท้องตึงแน่น
งดน้ำและอาหารทางปากทุกชนิด
ประเมินสัญญาณชีพและบันทึกปริมาณน้ำเข้าออก
ปัญหา : 4 ระบบทางเดินอุจจาระและภาวะลำไส้ใหญ่พิการ
การพยาบาล
ล้วงเอาอุจจาระออกจากลำไส้ใหญ่
ให้ผู้ป่วยได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
กระตุ้นผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีกากใย
กระตุ้นให้ผู้ป่วยมีการเคลื่อนไหวเท่าที่เป็นไปได้
ปัญหา : 5 ระบบทางเดินปัสสาวะและภาวะกระเพาะปัสสาวะพิการ
การพยาบาล
การคาสายสวนเป็นสิ่งจำเป็นในระยะช็อคจากการบาดเจ็บไขสันหลัง
การพยาบาลเพื่อการฝึกหัดขับปัสสาวะในผู้ป่วย
ปัญหา : 6 ระบบผิวหนัง
การพยาบาล
ประเมินผิวหนังและแผลกดทับโดยใช้แบบประเมินความเสี่ยง braden
ให้ความรู้กับผู้ป่วย ญาติ ผู้ดูแล
เปลี่ยนท่านอนผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอทุกๆ 2 ชั่วโมง
ใช้ผ้าขวางเตียงช่วยยกตัวผู้ป่วยขึ้น
. การเลือกที่นอนหรืออุปกรณ์รองรับผู้ป่วยสำคัญมากที่สุด
ปัญหา : 7 การดูแลด้านจิตใจ สังคม อารมณ์
การพยาบาล
ช่วยให้ผู้ป่วยรับรู้ถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทีละขั้นตอน
อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงของร่างกายหลังการบาดเจ็บไขสันหลัง
อธิบายข้อมูลที่ชัดเจน และเป็นจริงในแต่ละวันเพียงเล็กน้อย
ให้การพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยให้เข้าใจการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ของตนเอง
ปัญหา : 8 การวางแผนจำหน่าย
การพยาบาล
การเตรียมการดูแลที่บ้าน
การสอนด้านสุขภาพ
การเตรียมด้านจิตสังคม
การเตรียมแหล่งประโยชน์ด้านสุขภาพ