Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชที่มีความผิดปกติของความคิดและการรับรู้ - Coggle…
ปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชที่มีความผิดปกติของความคิดและการรับรู้
สาเหตุ
ปัจจัยทางชีวภาพ
พันธุกรรม
ระบบสารชีวภาพเคมีในสมอง
กายวิภาคของสมอง
ประสาทสรีรวิทยา
ปัจจัยทางด้านครอบครัวและสังคม
เดิมเชื่อว่าลักษณะของมารดาบางประการหรือการเลี้ยงดู บางรูปแบบทําให้เมื่อโตขึ้นบุคคลจะป่วยเป็นจิตเภท
้ป่วยที่เป็นโรคจิตเภทพบมากในสังคมที่มีเศรษฐกิจฐานะตํ่ำ
การจําแนกกลุ่มย่อยตาม DSM-IV
Catatonic type จิตเภทแบบนิ่งเกร็ง
Disorganized type ลักษณะสําคัญคือความคิดกระจัดกระจาย
ไม่เป็นไปในแนวเดียวกันแสดงออกทางคําพูด
Paranoid type จิตเภทแบบหวาดระแวงลักษณะสําคัญคือมีความหมกมุ่น
Undifferentiated Type จิตเภทแบบแบ่งแยกไม่ชัดเจน
เป็นผู้ป่วยทีมี อาการเข้ากันได้กับโรคจิตเภท
Residual schizophrenia จิตเภทที่ยังมีอาการหลงเหลืออยู่
ผู้ป่วยเคยป่วยมีอาการกําเริบชัดเจนอย่างน้อย 1 ครั้ง
การวินิจฉัย
การวินิจฉัยโรคจิตเภทตามเกณฑ์ ICD-10
การวินิจฉัยโรคจิตเภทตามเกณฑ์ DSM-5
ลักษณะอาการทางคลินิก
กลุ่มอาการด้านบวก (Positive symptoms) แสดงออกถึง
ความผิดปกติของความคิดการรับรู้การติดต่อสื่อสารและพฤติกรรม
กลุ่มอาการด้านลบ (Negative symptoms)) เป็นภาวะที่ขาดในสิ่งที่
คนทั่ว ๆ ไปมีเช่นในด้านความรู้สึกความต้องการในสิ่งต่าง ๆ
ระยะของโรค
ระยะก่อนป่วย(Premorbid phase)
ระยะเริ่มมีอาการ (Prodomal phase)
ระยะอาการกําเริบ (Active phase)
อาการหลงผิด (Delusion)
อาการประสาทหลอน (Hallucination)
อาการด้านความคิด (Disorganized of thought)
ด้านพฤติกรรม (Disorganized of behavior)
อาการทางด้านลบ (Negative symptoms)
ระยะเรื้อรัง / อาการหลงเหลือ (Chronic / Residual phase)
การรักษา
การรักษาด้วยยา
การรักษาด้วยไฟฟ้า (Electroconvulsive therapy: ECT)
การรับผู้ป่วยไว้รักษาในโรงพยาบาล
การบําบัดทางจิตสังคม (Psychosocial Intervention)
สุขภาพจิตศึกษา
การบําบัดที่เน้นการรู้คิด (Cognitive oriented)
การเจริญสติ (Mindfulness)
การให้สุขภาพจิตศึกษาแก่ครอบครัวและการจัดการพฤติกรรม (Family psycho education and behavior management interventions)
Family intervention แนวคิดของครอบครัวบําบัด
Support group กลุ่มสนับสนุนได้เกิดขึ้นจากแนวคิด
Stress- vulnerability coping model
Motivational interviewing Motivational interviewing
มีประโยชน์ต่อผู้ป่วยสารเสพติด
Adherence therapy (AT) โดย Gray et al. (2006) ซึ่งใช้แนวคิด cognitive-behavorat approach และ Compliance therapy
ปัญหาที่จะพบได้ของผู้ป่วยที่มีอาการประสาทหลอนมีความคิดหลงผิด
ไม่มีสมาธิกระวนกระวายกระสับกระส่ายอาจเกิดปัญหาในด้านการสื้อสาร สัมพันธภาพบกพร่องแยกตนเอง การเกิดอุบัติเหตุ การดูแลตนเอง
รู้สึกผิดรู้สึกว่าตนเองไม่มีคุณค่ามีความรู้สึกไร้พลัง
มีความคิดฆ่าตัวตายส่งผลให้เกิดการทําอันตรายตนเองได้
มีความเคลือบแคลงสงสัยในการกระทําของผู้อื่นเจ้าคิดเจ้าแค้น
ส่งผลให้อาจเกิดอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น
ไม่ยอมรับประทานอาหารหมกมุ่นไม่สามารถทํากิจกรรมในชีวตประจําวัน
ขาดความไว้วางใจเมื่อทําผิดไม่สมหวังก็จะกล่าวโทษผู้อื่นมีความกลัว วิตกกังวลหรือกลัวมีความไม่เป็นมิตรก้าวร้าวเกลียดชัง
ปัญหาการไม่สามารถปฏิบัติตามแผนการรักษา
กระบวนการพยาบาลสําหรับการดูแลผู้ป่วยจิตเภท
การประเมินสภาพ (Assessment)
การสัมภาษณ์/ซักประวัติเพื่อประเมินอาการผู้ป่วยเป็นเรื่องทีสําคัญทีสุด
การตรวจสภาพจิตเป็นการตรวจสภาพจิตและประเมินสภาพจิตเพื่อวินิจฉัย
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing Diagrosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การวางแผนระยะสั้นเน้นการช่วยเหลือในระยะแรก
การวางแผนระยะยาวเป˞นการกําหนดแผนการพยาบาล
ที่เน้นการดูแลระยะยาวและต่อเนื่อง
การกำหนดวัตถุประสงค์การพยาบาลทุกแผนการพยาบาล
ควรระบุเป้าหมายและต้องสามารถเป็นไปได้จริง
การกําหนดกิจกรรมการพยาบาล
การประเมิน