Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อจำกัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาล…
ข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข้อจำกัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ พ.ศ.2564
หมวดที่1 บททั่วไป(ข้อ4)
การรักษาโรคเบื้องต้น คือการตรวจร่างกาย การวินัจฉัยแยกโรค การรักษา การป้องกัน การปฐมพยาบาล
การเจ็บป่วยฉกเฉิน คือ การได้รับบาดเจ็บหรือป่วยกะทันหัน ต้องดำเนินการช่วยเหลือและรักษาทันที รวมถึงการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยฉุกเฉินตั้งแต่จุดเกิดเหตุ Ex.เป็นลม Heat stroke ชัก ลมบ้าหมู
การเจ็บป่วยวิกฤต คือ การเจ็บป่วยที่มีความรุนแรงถึงแก่ชีวิต
การปฐมพยาบาล คือ การให้ความช่วยเหลือผู้เจ็บป่วยเพื่อบรรเทาอาการ
การให้ภูมิคุ้มกัน คือ ร่างกายสร้างหรือเกิดภูมิคุ้มกัน
หมวดที่2 การประกอบวิชาชีพพยาบาล
ส่วนที่1 การพยาบาล
การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล การตรวจประเมินภาวะสุขภาพการส่งเสรมิสุขภาพ การป้องกันโรคและการบาดเจ็บการควบคุม การแพร่กระจายโรค การปฐมพยาบาลการบำบัดโรค
เบื้องต้นและการฟื้นฟูสุขภาพ
การสอน การแนะนำและการให้คำปรึกษา
การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมสุขภาพ การป้องกัน และการควบคุม
การปฏิบัติการพยาบาลตามแผนการพยาบาล
การให้การพยาบาลที่บ้านและการส่งเสริมความสามารถของบุคคล ครอบครัว และชุมชน
ข้อ6 ห้ามให้ายาหรือสารละลายในช่องรอบเยื่อบุไขสันหลัง
หรือช่องไขสันหลังหรือ สายสวนทางหลอดเลือดดำEx.Propofol,Etomidate,Thiopental sodium
ข้อ6 ห้ามใช้ยาหรือสารที่เกี่ยวข้องกับรังสีวินิจฉัย
ข้อ7 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ ชั้นสองให้กระทำการพยาบาลที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนตามแผนการพยาบาลจะต้องร่วมกับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้นหนึ่ง
ข้อ8 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ ชั้นสองจะให้ยาผู้รับบริการได้เฉพาะการให้ยาทางปากและยาภายนอกตามที่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ส่วนที่2 การทำหัตถการ
ข้อ9 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่งกระทำการพยาบาลโดยการทำหัตถการตามที่กำหนด
จบปี4ทำได้
ทำแผล ตกแต่งบาดแผล เย็บแผล ตัดไหมผ่าฝี ถอดเล็บจี้หูด จี้ปลา
ผ่าสิ่งแปลกปลอม
ต้องอบรมก่อน
ใส่ถอดยาฝังคุมกำเนิด, ห่วงอนามัย, ผ่าตาปลา เลาะก้อน คัดกรองมะเร็งปากมดลูก จี้ปากมดลูกด้วยความเย็น
หมวดที่3 การรักษาโรคเบื้องต้น
ข้อ10 การประกอบวิชาชีพการพยาบาลตามข้อกำหนดของสภาการพยาบาลในการรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค
ไข้ตัวร้อน
ไข้และมีผื่น
ไข้จับสั่น
ไอ
ปวดศรีษะ
ปวดท้อง
โรคผิวหนังเหน็บชา
ภาวะแท้งคุกคามหรือหลังแท้งแล้ว
การให้ภูมิคุ้มกันโรคแก่บุคคลทั่วไป หญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอด
ทารกและเด็ก
ข้อ11 การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ชั้นหนึ่งที่ผ่านการอบรม
สาขาเวชปฏิบัติทั่วไป
สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติทางตา
สาขาเวชปฏิบัติการบำบัดทดแทนไต(การล้างไต)
การพยาบาลผู้ใหญ่และสูงอายุ
การพยาบาลเด็ก
การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต
ข้อ12 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่งต้องกระทำการรักษาโรคเบื้องต้นตามข้อกำหนดของสภาการพยาบาลในการรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค
ตรวจวินและบำบัดรักษาโรคตามมาตรฐานของการประกอบวิชาชีพการพยาบาลที่สภาการพยาบาลกำหนด
ให้ส่งผู้ป่วยไปรับการบำบัดรักษาจากผู้ประกอบวิชาชีพอื่นเมื่อปรากฏตรวจพบหรืออาการไม่บรรเทา
ข้อ13 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ถ้าจำเป็นต้องใช้ยาได้ตามคู่มือการใช้ยาที่สภาการพยาบาลประกาศกำหนด
ข้อ14 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่งในการให้ภูมิคุ้มกันโรคต้องปฏิบัติตามแนวทางการให้ภูมิคุ้มกันโรคที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
ข้อ15 ต้องมีการบันทึกรายงานเกี่ยวกับประวัติของผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ อาการ และการเจ็บป่วย โรค การพยาบาล การให้รักษาหรือการให้บริการ
หมวดที่4 การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
ส่วนที่1 การพยาบาลก่อนการตั้งครรภ์ ระยะตั้งครรภ์
ข้อ16 ชั้นหนึ่งให้การผดุงครรภ์แก่หญิงและครอบครัวเมื่อต้องการมีบุตรก่อนการตั้งครรภ์ ระยะตั้งครรภ์
การตรวจประเมินภาวะสุขภาพของหญิงและคู่สมรส
การตรวจประเมินภาวะการตั้งครรภ์ด้วยเวชภัณฑ์ทดสอบการตั้งครรภ์
การรับฝากครรภ์
ข้อ17 แนะนำและส่งต่อหญิงมีครรภ์ให้ได้รับการตรวจและการรักษากับผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ข้อ18 ส่งต่อหญิงมีครรภ์กลุ่มเสี่ยงตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขหรือการตรวจพบภาวะครรภ์เป็นพิษ(Pre-eclampsia)หรือมีภาวะความเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์และการคลอดให้ได้รับการรักษาพยาบาลจากผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือพยาบาลที่มีความพร้อม
ส่วนที่2 การพยาบาลระยะคลอด
ข้อ19 ชั้นหนึ่งจำกระทำการผดุงครรภ์ได้แต่เฉพาะรายที่ตั้งครรภ์ปกติและคลอดปกติตลอดจนการดูแลมารดาและทารกแรกปกติ
ข้อ20 ชั้นหนึ่งให้การผดุงครรภ์หญิงมีครรภ์ระยะคลอด
การประเมินหญิงมีครรภ์
การประเมินประวัติการตั้งครรภ์และประวัติการเจ็บป่วยอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
การตรวจทางหน้าท้องเพื่อประมเมินความพร้อมในการคลอด
การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ข้อ21 การพยาบาล ระยะคลอด
การพยาบาลหญิงมีครรภ์ที่ได้รับการชักนำการคลอด
การคลอดในรายปกติเตรียมทำคลอดเมื่อมดลูกเปิด ส่วนนำอยู่ในอุ้งเชิงกรานพร้อมคลอด ตัดฝีเย็บตามข้อ
ทำคลอดและเยื่อหุ้มทารกโดยใช้วิธีModified Crede Maneuver ในรายที่รกค้างทำคลอดด้วยวิธีพยุงดึงรั้งสายสะดือControlled cord traction
การเย็บซ่อมแซมฝีเย็บ
การประเมินการเสียเลือด
การประเมินชีพจร
ข้อ22 การช่วยเหลือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมทำคลอดปกติ เช่นการคลอดติดไหล่หน้าหรือการผ่าตัดคลอด
ข้อ23 ชั้นหนึ่ง กระทำการที่เกี่ยวกับการคลอด
การเจาะน้ำคร่ำ เพื่อตรวจภาวะการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์(amniocentesis)
การทำคลอดที่มีความผิดปกติ
การล้วงรก(Manual removal of placenta)
การกลับท่าของทารกในครรภ์(Internal and external version)
การใช้มือกดท้องขณะทำคลอด
การเย็บซ่อมฝีที่มีการฉีกขาด
การทำแท้ง
ข้อ24 ชั้นหนึ่ง จะกระทำการช่วยคลอดฉุกเฉินในรายที่มีการคลอดผิดปกติที่ไม่สามารถหาวิชาชีพเวชกรรมทำคลอดได้ แต่ห้ามให้ใช้คีมสูงในการทำคลอดหรือใช้เครื่องดูดสัญญาอากาศในการทำคลอด
ข้อ 25ในรายที่มีการตกเลือดหละงคลอดถ้าปล่อยทิ้งไว้จะเป็นอันตรายต่อมารดาให้รักษาอาการตกเลือดเบื้องต้นตามความจำเป็น
ส่วนที่ 3 การพยาบาลมารดาและทารก ระยะหลังคลอด
ข้อ26 ชั้นหนึ่ง ให้การพยาบาลกะบมารดาหลังคลอดอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ข้อ27 ชั้นหนึ่ง จะต้องใช้ยาทำลายและป้องกันการติดเชื้อสำหรับหยอดตา
ข้อ28 การพยาบาลทารกแรกเกิด โดยการประเมินสัญญาณชีพความผิดปกติ
ข่อ29ชั้นหนึ่งจะต้องบันทึกรายงานเกี่ยวกับประวัติของหญิงตั้งครรภ์ การพยาบาลระยะตั้งครรภ์ การคลอด การพยาบาลหลังคลอด และการให้การบริการตามความเป็นจริง
ข้อ30 ชั้นสอง ให้กระทำการพยาบาลระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และการพยาบาลหลังคลอดในรายตั้งครรภ์และการคลอดปกติในพยาบาลและการเยี่ยมบ้านที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน
ส่วนที่4 การวางแผนครอบครัวและการคัดกรองมารดาทารก
ข้อ31 ชั้นหนึ่ง สามารถทำการพยาบาลและการวางแผนครอบครัว
การให้คำปรึกษากับคู่สมรสในการวางแผนครอบครัวแบบวิธีธรรมชาติ
การให้บริการวางแผนครอบครัวแบบใช้ยา/อุปกรณ์
ข้อ32 ชั้นหนึ่งสามารถคัดกรองมารทารก
การทำ Pap smear
การประเมินภาวะสุขภาพ ความผิดปกติ/พิการของทารก
ข้อ33 ชั้นสอง หารให้บริการวางแผนครอบครัวแบบใช้ยา/อุปกรณ์
ยาเม็ดคุมกำเนิด(Oral contraceptive pills)
ถุงยางอนามัย
วงแหวนคุมกำเนิด
แผ่นแปะคุมกำเนิด
ส่วนที่5 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่มารดา ทารก และเด็ก
ข้อ34 ชั้นหนึ่ง จะให้ภูมิคุ้มกันโรค ต้องปฏิบัติแนวทางการให้ภูมิคุ้มกันโรค
ข้อ35 ชั้นสอง ให้คำแนะนำเรื่องการเข้ารับภูมิคุ้มกันโรคและติดตามให้มารับภูมิคุ้มกันโรค